Page 11 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            2





                             2)    ขอมูลเชิงเลขจากดาวเทียมไทยโชต (Thaichote)        ระบบชวงคลื่นเดี่ยว

                  (panchromatic) และระบบหลายชวงคลื่น (multispectrum) บันทึกขอมูลเมื่อ ป พ.ศ. 2561 -  พ.ศ. 2562
                  จากสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา
                  วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม

                             3)    ขอมูลจากดาวเทียม Landsat 8 OLI บันทึกขอมูลเมื่อ ป พ.ศ. 2562 -  พ.ศ. 2563
                             4)    แผนที่สภาพการใชที่ดิน ป  พ.ศ. 2549  -  ป พ.ศ. 2561 มาตราสวน 1:25,000
                  จากฐานขอมูลกรมพัฒนาที่ดิน
                             5)    แผนที่ขอบเขตการปกครองระดับตําบล พ.ศ. 2556 จากกรมการปกครอง
                  กระทรวงมหาดไทย

                             6)    แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1:50,000  ลําดับชุด L7018  จากกรมแผนที่ทหาร
                  กระทรวงกลาโหม
                             7)    เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล  พรอมอุปกรณเครื่องพวง

                             8)    โปรแกรมวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic
                  Information System-GIS)
                             9)    เครื่องคํานวณระบบกําหนดตําแหนงบนโลก (Global Positioning System-GPS)
                             10)  เข็มทิศและอุปกรณสนามอื่น ๆ

                        1.4.2  วิธีการดําเนินงาน
                             1)    รวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปของแผนที่ และรายงานที่เกี่ยวของจาก
                  หนวยงานอื่น ๆ เพื่อนําขอมูลดังกลาวมากําหนดแผนการดําเนินงาน
                             2)    การเตรียมขอมูลดาวเทียมและภาพถายออรโธสีเชิงเลข

                                   (1)  ขอมูลจากดาวเทียมไทยโชตที่ใชในการปฏิบัติงานมีทั้งขอมูลเชิงเลข (digital
                  data) และขอมูลเชิงภาพ (analog data) การเตรียมขอมูลดาวเทียม มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
                                         -     การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (Geometric correction)
                  เนื่องจากขอมูลดาวเทียมไทยโชตที่ไดมา มีความคลาดเคลื่อนในเชิงตําแหนงทางภูมิศาสตร จึงตอง

                  ดําเนินการแกไขตําแหนงใหมีความถูกตอง เพื่อใหสามารถซอนทับกับชั้นขอมูลอื่น ๆ ได โดยนํามาตรึง
                  พิกัดกับภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1: 4,000 ระบบ WGS  1984 ของกระทรวงเกษตรและ
                  สหกรณ ซึ่งใชเปนขอมูลอางอิง เพื่อใหมีความถูกตองทางดานตําแหนง และทิศทาง ดวยวิธีการตรึงแบบ

                  Image to Image
                                         -     การผลิตภาพขอมูลดาวเทียมไทยโชต เนื่องจากขอมูลดาวเทียมที่ไดมี
                  ทั้งระบบ Panchromatic และระบบ Multispectral พื้นที่เดียวกันและมีการบันทึกขอมูลเวลาเดียวกัน
                  จึงใชเทคนิคผสมรวมขอมูล เพื่อผลิตภาพขอมูลดาวเทียมสังเคราะหที่มีรายละเอียดเชิงคลื่น และ
                  รายละเอียดเชิงพื้นที่สูง(Pan sharpening หรือการทํา Resolution merge) โดยนําขอมูลภาพระบบ

                  หลายชวงคลื่น (Multispectral) หรือภาพสีที่มีรายละเอียดจุดภาพ 15 เมตร มาทําการเนนรายละเอียด
                  ของขอมูลภาพดวยขอมูลภาพชวงคลื่นเดียว (Panchromatic) หรือภาพขาว ดํา ที่มีรายละเอียดจุดภาพ
                  2 เมตร วิธีการนี้ทําใหไดขอมูลภาพสีที่มีรายละเอียดจุดภาพเพิ่มขึ้นเทากับ 2 เมตร และขอมูลภาพสีจะ

                  ใชการผสมสีจริง (True  color  composite)  โดยชวงคลื่นสีแดง (0.62-0.69 ไมครอน) ผานตัวกรองสี
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16