Page 38 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 38

หลักการที่ 6                                         6.4 ระบุวิธีการที่ชัดเจนซึ่งเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์
                                                                    ปริมาณธาตุอาหารในปุ๋ยและปริมาณของสารออกฤทธิ์
           องค์ประกอบ ข้อจำกัด                                      ทางชีวภาพส าหรับพืชในการเกษตร รวมทั้งตรวจสอบ


           และการทดสอบ                                              ความพร้อมและความสามารถของการทดสอบ ส าหรับ
                                                                    การควบคุมคุณภาพ


           6.1 การทดสอบและรับรองปุ๋ย  รวมทั้งแหล่งที่มาของธาตุ  6.5 หน่วยงานภาครัฐ เช่น สถาบันวิจัยการเกษตรแห่งชาติ
               อาหารที่รีไซเคิลนั้น ควรเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพ       และหน่วยงานส่งเสริมการเกษตรและบริการให้
               และความปลอดภัย ซึ่งเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของ       ค าปรึกษาในท้องถิ่น  ด้วยการสนับสนุนจากศูนย์วิจัย
               หน่วยงานภาครัฐที่ควรก ากับ ดูแล ก าหนด และควบคุม     ระหว่างประเทศ องค์กรวิจัยอื่นๆ มหาวิทยาลัย และ
               มาตรฐาน ส่วนภาคอุตสาหกรรมปุ๋ยควรด าเนินการโดย        ภาคอุตสาหกรรมปุ๋ย ควร:

               ให้ความมั่นใจว่าปุ๋ยที่ผลิตออก  จัดจ าหน่ายในตลาดนั้น
               มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย                             6.5.1  สร้างองค์ความรู้และให้ข้อมูลกับผู้ผลิตปุ๋ ย
                                                                             เกี่ยวกับประเด็นส าคัญด้านสุขภาพและ

           6.2 องค์กรระหว่างรัฐบาลที่เกี่ยวข้องควรสร้างความร่วมมือ           ความปลอดภัยที่เกิดจากองค์ประกอบของ
               กับรัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมปุ๋ยเพื่อพัฒนาวิธีการสุ่ม            ปุ๋ ย เพื่อปกป้องดิน มนุษย์ และสัตว์จาก
               ตัวอย่างและทดสอบปุ๋ยที่สอดคล้องกับมาตรการและ                  ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ปุ๋ ย
               มาตรฐานในระดับภูมิภาคและระดับโลก                              รวมถึงผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหาร

                                                                       6.5.2  ก ากับดูแลและสนับสนุนการทดสอบปุ๋ยใน
           6.3 หน่วยงานภาครัฐควรพิจารณาองค์ความรู้จากการวิจัย                ภาคสนาม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้
               และสร้างความร่วมมือระดับนานาชาติในการวาง                      ธาตุอาหารที่ตรงกับความต้องการของพืช
               มาตรฐานสากล และแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด รวมทั้งร่วมมือ           และ/หรือปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน

               กับภาคอุตสาหกรรมปุ๋ยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ที่
               เกี่ยวข้อง:                                             6.5.3  ด าเนินการตรวจสอบแหล่งธาตุอาหารที่
                                                                             รีไซเคิลและผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการผลิตพืช
                  6.3.1  รับผิดชอบในการควบคุมองค์ประกอบและ                   เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นไปตามแนวทางที่

                        คุณภาพของปุ๋ยในด้าน:                                 เหมาะสมส าหรับปริมาณและคุณภาพของ
                        6.3.1.1  ปริมาณธาตุอาหาร                             ธาตุอาหาร รวมถึงความปลอดภัยในแง่ของ

                        6.3.1.2  ธาตุโลหะหนักที่เป็นผลมาจาก                  สารปนเปื้อน เช่น โลหะหนัก จุลินทรีย์ที่
                               กระบวนการผลิตและแหล่งที่มา                    เป็นอันตราย และวัสดุอันตรายหรือสารพิษ
                               ของวัตถุดิบ                                   อื่นๆ
                        6.3.1.3  จุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย              6.5.4  ให้ความรู้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ใช้ปุ๋ย

                        6.3.1.4  วัสดุอันตรายหรือพิษอื่นๆ และ                ถึงข้อมูลความปลอดภัยและองค์ประกอบ
                        6.3.1.5  สารเติมแต่ง เช่น ทราย หินพื้น               ความบริสุทธิ์ และคุณภาพของปุ๋ยที่เสนอ
                               และวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ในการผลิตปุ๋ย             ขาย รวมทั้งวิธีการที่จะปฏิบัติตามกฎและ

                  6.3.2  ก าหนด/ ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัย                    แนวทางที่เกี่ยวข้อง
                        ข้อจ ากัด แนวทางและหลักฐานเชิงประจักษ์
                        เกี่ยวกับปริมาณที่เป็ นอันตรายของ
                        ผลิตภัณฑ์ปุ๋ ย โดยค านึงถึงเส้นทางการ

                        ปนเปื้อนที่แตกต่างกันและผลกระทบของ
                        สารปนเปื้อนต่อมนุษย์ สัตว์ และดิน






                                                           28
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43