Page 34 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 34

หลักการที่ 5                                                5.3.3  ก าหนดแนวทางและข้อบังคับที่เหมาะสม
                                                                             ส าหรับการใช้และข้อจ ากัดเกี่ยวกับสาร
           การรียูส (reuse)                                                  ปนเปื้อนในแหล่งธาตุอาหารที่น ากลับมา


                                                                             รียูสและรีไซเคิล ซึ่งอาจมีความเสี่ยงที่ไม่
           และรีไซเคิล (recycle)                                             สามารถยอมรับได้ต่อสุขภาพของมนุษย์
           ธาตุอาหาร                                                         สัตว์ ดิน และสิ่งแวดล้อม


                                                                       5.3.4  ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการลด

           5.1 แหล่งของธาตุอาหารจากวัสดุที่น ามารียูสหรือรีไซเคิล            การปนเปื้อนของธาตุอาหารรีไซเคิลจาก
               ได้แก่ น ้าเสีย กากตะกอนน ้าเสีย ปุ๋ยคอก ของเสียจาก           กากตะกอนน ้าเสียและแหล่งอื่นๆ
               ชุมชนเมือง ปุ๋ ยหมักมูลไส้เดือน ตะกอนเหลวที่ย่อย  5.4 หน่วยงานภาครัฐ เช่น สถาบันวิจัยการเกษตรแห่งชาติ
               สลายแล้ว  ถ่านชีวภาพ สารอนินทรีย์หรือสารอินทรีย์     และหน่วยงานส่งเสริมการเกษตรและบริการให้
               เช่น สตรูไวท์ แอมโมเนียมซัลเฟต และของเหลือทิ้งจาก    ค าปรึกษาในชนบทร่วมกับศูนย์วิจัยระหว่างประเทศและ

               อาหาร อุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรมอื่นๆ
                                                                    องค์กรวิจัยอื่นๆ มหาวิทยาลัย และภาคอุตสาหกรรมปุ๋ย
           5.2 ควรส่งเสริมการน าธาตุอาหารกลับมารียูสและรีไซเคิล     ควร:
               อย่างไรก็ตาม ควรพิจารณาถึงคุณภาพ ความปลอดภัย            5.4.1  อ านวยความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล

               และความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพและ                     และการสร้างองค์ความรู้ร่วมกันในการรียูส
               สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและการใช้ธาตุ             และรีไซเคิลธาตุอาหารเพื่อวัตถุประสงค์
               อาหารเหล่านั้น
                                                                             ทางการเกษตรและการผลิตพืช ระหว่างผู้มี

           5.3 หน่วยงานภาครัฐควรพิจารณาองค์ความรู้จากการวิจัย                บทบาทในภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม
               และสร้างความร่วมมือระดับนานาชาติ ในการวาง                     สถาบันการศึกษา องค์กรวิจัย และผู้ใช้
               มาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด รวมทั้งร่วมมือ            ปลายทาง รวมถึงผู้จัดการที่ดินและ
               กับภาคอุตสาหกรรมปุ๋ยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ที่          เกษตรกร

               เกี่ยวข้อง เพื่อ:                                       5.4.2  ตรวจสอบแหล่งที่มาและผลิตภัณฑ์ที่ได้
                                                                             จากการรียูสและรีไซเคิลธาตุอาหาร  เพื่อให้
                  5.3.1  ส่งเสริมการรียูสและรีไซเคิลธาตุอาหาร                แน่ใจว่าวัสดุเหล่านั้นให้ประโยชน์ทางธาตุ
                        ด้วยการสนับสนุน ปรึกษาหารือ นโยบาย                   อาหารและทางการเกษตรให้กับพืชและดิน

                        กลไกทางการเงินและจัดหาทรัพยากร                       โดยไม่ท าให้สุขภาพของดิน สัตว์ และ
                        ส าหรับการผลิตนวัตกรรม รวมถึงความ                    มนุษย์แย่ลง รวมถึงมีความปลอดภัยต่อ
                        ร่วมมือและแบ่งปันความรู้ในการรียูสและ                สิ่งแวดล้อม
                        รีไซเคิลและเทคโนโลยีในการรีไซเคิลเพื่อใช้
                        เป็นปุ๋ยในภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง           5.4.3  สนับสนุนและส่งเสริมการหมุนเวียนธาตุ
                                                                             อาหาร การรียูสและรีไซเคิลวัสดุเพื่อเป็น
                  5.3.2  พัฒนานโยบายที่ส่งเสริมการรียูส  รีไซเคิล            แหล่งธาตุอาหารพืชและเพื่อปรับปรุง

                        และการใช้ประโยชน์จากแหล่งธาตุอาหาร                   สุขภาพดินและความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                        พืชในท้องถิ่นอย่างปลอดภัย โดยการใช้ปุ๋ย
                        คอก ปุ๋ ยหมัก เศษซากพืช และวัสดุอื่นๆ          5.4.4  พัฒนาเทคโนโลยีส าหรับการรีไซเคิลและ
                        ที่เหมาะสมส าหรับการจัดการดินในแง่ของ                รียูสธาตุอาหารเพื่อใช้เป็นปุ๋ย
                        การเป็นแหล่งธาตุอาหารพืชและเพิ่ม               5.4.5  ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีข้อมูลที่เป็น
                        คุณภาพดินในแง่ของอินทรียวัตถุ หรือ                   ประโยชน์ เช่น สารอาหารประกอบ และ

                        ประโยชน์อื่นๆ ต่อดินเช่น ลดความเป็นกรด               ปริมาณสารปนเปื้อนจากวัสดุที่รีไซเคิลและ
                        ของดิน เป็นต้น



                                                           24
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39