Page 107 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       89


                              ค าอธิบายชั้นมาตรฐานในการจ าแนกความเหมาะสมทางกายภาพของดิน


               1. ชั้นมาตรฐานการระบายน้่าของดิน
                       1 = การระบายน้่าเลวมาก (Very poorly drained) เป็นดินที่มีการไหลซึมของน้่า ไปจากดินช้ามาก
               หรือมีน้่าแช่ขังนานในรอบปี ท่าให้ดินมีสีเทาหรือสีเทาปนน้่าเงินตลอดและไม่พบจุดประสี ดินส่วนใหญ่มีระดับ
               น้่าใต้ดินตื้นมากอยู่ใกล้ผิวดินหรือมีน้่าท่วมขังนาน เช่น พื้นที่พรุ พื้นที่ลุ่มต่่าน้่าขัง หรือพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น

               ดินที่มีการระบายน้่าเลวมากนี้  ดินจะเปียกชื้นและแฉะตลอดเวลาจนเป็นเหตุให้พืชที่ปลูกทั่วๆ  ไปไม่
               เจริญเติบโต ถ้าไม่มีการระบายน้่าออกไปจากดิน ยกเว้นพวกข้าวหรือพืชที่ชอบน้่าเท่านั้น
                       2= การระบายน้่าเลว (Poorly drained) เป็นดินที่มีการไหลซึมของน้่าไปจากดินช้ามาก มีน้่าท่วมขัง
               นานในช่วงฤดูฝน หรือมีน้่าขังในพื้นที่ราบที่มีคันนากั้นไว้ ส่วนในฤดูแล้งดินยังเปียกชื้นอยู่บ้าง ทาให้ดินมีสีเทา

               และพบจุดประสีเหลือง สีน้่าตาลหรือสีแดง เป็นต้น ดินที่มีการระบายน้่าเลวจะมีน้่าในดินมากและมีระดับน้่าใต้
               ดินตื้น จนทาไม่อาจใช้ปลูกพืชไร่หรือไม้ยืนต้นได้ นอกจากใช้ปลูกข้าว เว้นเสียแต่ว่าจะมีการแก้ไขไม่ให้มีน้่าขัง
               โดยการยกร่องและมีคันป้องกันน้่าท่วม หรือเลือกช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืช เป็นต้น
                       3= การระบายน้่าค่อนข้างเลว (Somewhat poorly drained) เป็นดินที่มีการไหลซึมของน้่าออกไป

               จากดินยังช้าอยู่  จึงทาให้ดินชื้นนานพอที่จะเป็นอุปสรรคในการปลูกพืช  มีระดับน้่าใต้ดินลึกปานกลางถึงตื้น
               และมีน้่าท่วมขังบางครั้งในฤดูฝน ทาให้ดินเกิดสีน้่าตาลหนาและดินชั้นล่างถัดไปจะเป็นสีเทาและพบจุดประสี
               ตลอด ดินนี้ถ้าใช้ปลูกพืชไร่อาจมีปัญหาบ้างในเรื่องการระบายน้่าที่จะทาให้พืชไร่ชะงักการเจริญเติบโตได้ จึง

               ควรทาร่องระบายน้่าเพื่อป้องกันการแช่ขังของน้่า ถ้าใช้ปลูกข้าวก็มีความเหมาะสมแต่อาจขาดน้่าได้ในช่วงที่ฝน
               ทิ้งช่วงนาน จึงควรทาคันดินให้สูงเพื่อช่วยในการกักเก็บน้่าและควรจัดแหล่งน้่าเตรียมไว้ในยามที่พืชต้องการ
                       4 = การระบายน้่าดีปานกลาง (Moderately well drained) เป็นดินที่มีการไหลซึมของน้่าค่อนข้าง
               ช้า จึงทาให้ดินเปียกชื้นอยู่เป็นบางเวลา ไม่มีน้่าแช่ขัง มีระดับน้่าใต้ดินค่อนข้างลึก ทาให้ดินเกิดจุดประสีปะปน
               อยู่ในเนื้อดิน ทาให้ไม่เหมาะสมสาหรับการปลูกข้าว เนื่องจากข้าวต้องการน้่ามาก แต่มีความเหมาะสมต่อการ

               ปลูกพืชไร่ หรือไม้ผล เป็นต้น
                       5 = การระบายน้่าดี (Well drained) เป็นดินที่มีน้่าไหลซึมผ่านไปจากดินได้เร็ว แต่ไม่เร็วจนเกินไป
               จึงทาให้ดินยังมีความชื้นเหลืออยู่ภายหลังจากฝนตก

                       6  =  การระบายน้่ามากเกินไป  (Excessively  drained)  เป็นดินที่มีการไหลผ่านของน้่าไปจากดิน
               เป็นไปอย่างรวดเร็วมาก เช่น ดินที่มีเศษหินมากและมีความลาดชันสูง การไหลซึมผ่านของน้่าลงไป
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112