Page 105 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 105

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       89







                       ตารางภาคผนวกที่ 2 ระดับค่าพีเอช (pH) หรือค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน


                       <3.5    3.5-4.0  4.5-  5.1-   5.6-   6.1-6.5  6.6-    7.4-7.8  7.9-    8.5-   >9.0
                                       5.0    5.5    6.0             7.3              8.4     9.0
                        กรด     กรด    กรด    กรด     กรด     กรด     เป็น     ด่าง    ด่าง   ด่าง    ด่าง
                       รุนแรง รุนแรง    จัด    จัด    ปาน เล็กน้อย  กลาง  เล็กน้อย  ปาน        จัด    จัด
                        มาก     มาก    มาก           กลาง                             กลาง           มาก
                        ที่สุด


                              5. ความต้องการปูน (Lime requirement : LR) เป็นค่าปริมาณของปูนที่ใช้ในการปรับค่าพี

                       เอชของดินให้มีค่าประมาณ 6.5 ซึ่งเป็นช่วงที่ธาตุอาหารพืชส่วนใหญ่ละลายออกมาอยู่ในรูปที่เป็น
                       ประโยชน์ต่อพืช


                       ตารางภาคผนวกที่ 3 ค่าโดยประมาณความต้องการปริมาณหินปูนบดละเอียดหรือแคลเซียม

                       คาร์บอเนต และน าไปใช้ในการปรับค่าพีเอชของดินให้เหมาะสมส าหรับการปลูกพืช โดยพิจารณาจาก
                       ค่าพีเอชเดิม
                       ค่า pH เดิมของ                   กิโลกรัมต่อไร่ ของหินปูนบดละเอียด
                             ดิน         ดินทราย  ดินร่วนปนทราย         ดินร่วน      ดินร่วนปนดินเหนียว

                                                                                       และดินเหนียว
                             5.0           200           300             400                500
                             4.8           570           590             690                840

                             4.6           620           600             800                970
                             4.5           700           800            1,000              1,100
                             4.4           730           800            1,100              1,200
                             4.2           890          1,000           1,400              1,600
                             4.0          1,100         1,300           1,800              2,100

                             3.8          1,400         1,700           2,100              2,800
                             3.5          1,600         2,000           2,500              3,000
                             3.0          2,200         2,800           3,200              4,000

                       ที่มา : วิโรจ (2532) ทัศนีและคณะ (2546)

                              ปูนที่ใช้ในการเกษตรมีหลายชนิด เช่น หินปูนบด ปูนขาว หินปูนเผา ปูนโดโลไมต์ และปูน

                       มาร์ล การใส่ปูนชนิดอื่น ๆ จึงต้องเทียบค่าฤทธิ์ความเป็นด่างของปูนกับแคลเซียมคาร์บอเนตบริสุทธิ์
                       เพื่อจะได้ใส่ปูนอื่น ๆ ได้ ในอัตราที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดังตารางภาคผนวกที่ 4
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110