Page 12 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4


                                                         บทที่ 2

                                                       ข้อมูลทั่วไป
               2.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
                       ลุ่มน้ าสาขาคลองท่าตะเภา (รหัส 2101)

                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า คลองรับร่อ จังหวัดชุมพร วงรอบที่ ชพ.2 (2556) ลุ่มน้ าสาขา คลองท่าตะเภา
               (รหัส 2101) ลุ่มน้ าหลัก ภาคใต้ฝั่งตะวันออก (รหัส 21) พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว
               อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร เนื้อที่ 5,575  ไร่ หรือ 8.92  ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่โซน 47Q  พิกัด E  499630-
               503120 N 1168300-1172730 อยู่ใน แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ล าดับชุดที่ L7018 ระวางที่

               4730 II  และ4830  III  (กรมแผนที่ทหาร,2542) ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ
               จังหวัดชุมพร (ภาพที่ 1)
                       ทิศเหนือ      ติดต่อ  แนวเขาหินโผล่ ต าบลรับร่อ อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
                       ทิศใต้        ติดต่อ  แนวถนนชนบทสายบ้านน้ าเย็น-เขากล้วย ต าบลหินแก้ว

                                            อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
                       ทิศตะวันออก  ติดต่อ   บ้านในโสม หมู่ที่ 2 ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
                       ทิศตะวันตก    ติดต่อ   บ้านวังพุง หมู่ที่ 3 ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

                       พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ  จังหวัดชุมพร อยู่ห่างจากตัวเมือง
               ชุมพร ผ่านแยกปฐมพร ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ประมาณ 7.0 กิโลเมตร และเลี้ยวซ้ายที่สามแยก
               ไปตามถนนเข้าโรงเรียนบ้านจันทึง ประมาณ 15.0 กิโลเมตร เข้าพื้นที่พื้นที่ด าเนินการ

               2.2 สภาพภูมิอากาศ

                          จากสถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจวัดอากาศ จังหวัดชุมพร เฉลี่ย 50 ปี (พ.ศ.2503-2552) พื้นที่
               จังหวัดชุมพร จัดอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Tropical savannah: Aw) ตามระบบ การจ าแนก
               ภูมิอากาศของ Koppen  โดยมีปริมาณน้ าฝนรวมทั้งปี 1,951.2 มิลลิเมตร ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 81

               เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 26.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.6 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิ
               ต่ าสุดเฉลี่ย 23.1 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 1) สามารถแบ่งลักษณะ ภูมิอากาศออกเป็น 2 ฤดูกาล ได้แก่
                          ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม เป็นระยะเวลา 9 เดือน ทั้งนั้นเพราะได้รับ
               อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในช่วงฤดูฝนอาจแบ่งออกได้เป็น

               2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ระยะที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เริ่มดั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือน
               กันยายน ซึ่งในระยะนี้มีฝนตกมากพอสมควร และระยะที่ 2 ระยะที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม
               ตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ระยะนี้มีฝนตกมาก และในช่วงเดือน
               พฤศจิกายนจะเป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยสูงที่สุด

                          ฤดูแล้ง เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์จนถึงเดือนเมษายน เป็นระยะที่เวลาที่ลมมรสุม
               ตะวันออกเฉียงเหนือถอยออกไปจากภาคใต้ และจะมีลมระหว่างทิศใต้และตะวันออกเฉียงใต้พัดเข้ามาแทนที่
               ลมนั้นพัดมาจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงในทะเลจีนใต้ ซึ่งเป็นลมร้อนและชื้นจึงท าให้อุณหภูมิของจังหวัด
               ชุมพรสูงชื้นบ้างและมีปริมาณฝนตกน้อยลง

                         การวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช เพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใช้ข้อมูล
               ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าของพืชรายเดือน (Evapotranspiration  :  ETo)  ซึ่ง

               ค านวณและพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้ าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo ถือเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17