Page 5 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                  และ แหล่งน้ าชุมชน มีความถูกต้องร้อยละ 32.46 ซึ่งหมายความว่าค่าพิกัดของแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า
                  (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) มีความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ในระดับต าบลมากที่สุด ค่าพิกัดของแหล่งน้ าชุมชนมี

                  ความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ในระดับต าบลรองลงมา และ ค่าพิกัดของแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน

                  มีความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ในระดับต าบลน้อยที่สุด

                  ประเด็นปัญหาที่พบ

                             1. แหล่งน้ าไม่มีค่าพิกัด

                             2. ค่าพิกัดของแหล่งน้ าไม่สอดคล้องกับพื้นที่ต าบลเป้าหมาย

                             3. ค่าพิกัดของแหล่งน้ าไม่ถูกต้อง เนื่องจากเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลค่าพิกัดผิด ได้แก่ ค่าพิกัด ขาด/เกิน
                  สลับค่าพิกัดตะวันออก (E) เป็นค่าพิกัดเหนือ (N) /ค่าพิกัดเหนือ (N) เป็นค่าพิกัดตะวันออก ค่าพิกัดตะวันออก (E)

                  และ ค่าพิกัดเหนือ (N) เป็นค่าพิกัดเดียวกัน ค่าพิกัดตะวันออก (E) และ ค่าพิกัดเหนือ (N) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
                             4. ค่าพิกัดสอดคล้องกับพื้นที่ต าบลเป้าหมายแต่ไม่ตรงกับต าแหน่งแหล่งน้ าที่ปรากฏให้เห็นบน

                  ภาพถ่ายดาวเทียม

                  ข้อเสนอแนะ


                             1. ข้อมูลแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทานที่ไม่มีค่าพิกัดมีอยู่ทุกจังหวัด ควรให้หน่วยงานที่
                  เกี่ยวข้องด าเนินการจัดเก็บข้อมูลค่าพิกัดเพิ่มเติมให้ครบถ้วน

                             2. ค่าพิกัดของแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน และค่าพิกัดของแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) ที่มีค่าไม่สอดคล้องกับพื้นที่ต าบลเป้าหมายนั้น อาจเกิดจากการปรับเปลี่ยนเส้น

                  ขอบเขตการปกครองของกรมการปกครอง เห็นควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตรวจสอบข้อมูลดังกล่าว

                             3. แหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน จัดเก็บค่าพิกัดในรูปแบบระบบพิกัด UTM ซึ่งแหล่งน้ า
                  เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) และแหล่งน้ าชุมชน ได้จัดเก็บค่าพิกัดในรูปแบบทศนิยม

                  (Latitude / Longitude) เห็นควรจัดเก็บค่าพิกัดให้อยู่ในแบบระบบเดียวกันทั้ง 3 โครงการ
                             4. ข้อมูลค่าพิกัดของแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) และแหล่งน้ าชุมชน

                  ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้น (Line) เห็นควรระบุค่าพิกัดของจุดเริ่มต้น ค่าพิกัดทุกๆ 100-200 เมตร และค่าพิกัดของ

                  จุดสิ้นสุด เพื่อจะได้สามารถสร้างแนวและบอกระยะทางได้
                             5. ข้อมูลค่าพิกัดของแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) และแหล่งน้ าชุมชน

                  ที่มีลักษณะพื้นที่เป็นรูปปิด (Polygon) เช่น การขุดสระเก็บน้ า อ่างเก็บน้ า ควรระบุค่าพิกัดของแหล่งน้ าทั้ง 4 มุม
                  หรือ ทุกๆ จุดที่มีการเปลี่ยนมุม เพื่อจะได้สามารถสร้างขอบเขตพื้นที่การด าเนินการได้

                             6. ข้อมูลค่าพิกัดที่ไม่ถูกต้อง อันเนื่องมาจากความผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลค่าพิกัด

                  เช่น พิมพ์ตัวเลขค่าพิกัดขาด/เกิน สลับค่าพิกัด E เป็นค่าพิกัด N  ค่าพิกัด N เป็นค่าพิกัด E หรือ ค่าพิกัด E และ
                  ค่าพิกัด N เป็นค่าพิกัดเดียวกัน เห็นควรให้หน่วยงานเจ้าของข้อมูลมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ครบถ้วนและ

                  ความถูกต้องของค่าพิกัดที่ได้จัดเก็บในเบื้องต้น ก่อนที่จะน าส่งข้อมูลดังกล่าวให้แก่หน่วยงานส่วนกลาง






                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10