Page 4 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 4

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                    บทสรุปส าหรับผู้บริหาร


                             การด าเนินการปรับปรุงและจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการพัฒนาที่ดิน

                  มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลด้านการพัฒนาแหล่งน้ าจากหน่วยงานต่างๆ ภายในกรมพัฒนาที่ดิน  ตามแผน
                  และผลการด าเนินงานจากกองแผนงาน  ในด้านการพัฒนาแหล่งน้ า มาจัดการให้อยู่ในรูปแบบและมาตรฐาน

                  เดียวกันในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อลดความซ้ าซ้อน ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล และเพิ่มความ

                  สมบูรณ์ถูกต้องของข้อมูล มีความสะดวกรวดเร็วในการเรียกใช้งาน ซึ่งได้ท าการรวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้าง
                  แหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน โครงการงานพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก)

                  และ โครงการพัฒนาแหล่งน้ าชุมชน น ามาจัดการให้อยู่ในรูปของข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) เพื่อวิเคราะห์

                  ความถูกต้องของข้อมูลในระดับต าบล และตรวจสอบความถูกต้องเชิงต าแหน่ง วิเคราะห์ ประมวลผล และ
                  จัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยใช้แผนที่ภาพถ่ายที่มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบันเป็นแผนที่ฐานร่วมกับการใช้

                  เทคโนโลยีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Web  Map  Service  :WMS)
                  เพื่อพิจารณาด าเนินการปรับปรุงและแก้ไขความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ ซึ่งผลการด าเนินงานสรุปได้ดังนี้


                             1. โครงการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน  เริ่มด าเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ
                  พ.ศ. 2548 - 2559 มีทั้งหมดจ านวน 377,497 บ่อ มีค่าพิกัด จ านวน 289,170 บ่อ คิดเป็นร้อยละ 76.60 ไม่มี

                  ค่าพิกัด จ านวน 88,327 บ่อ คิดเป็นร้อยละ 23.40  เมื่อน าข้อมูลของแหล่งน้ าที่มีค่าพิกัดมาท าการวิเคราะห์
                  พบว่า มีค่าพิกัดอยู่ในขอบเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน 210,723 บ่อ  คิดเป็นร้อยละ 72.87  มีค่าพิกัดอยู่

                  นอกขอบเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน 61,786 บ่อ คิดเป็นร้อยละ 21.37 และ มีค่าพิกัดอยู่นอกเขตพื้นที่

                  จังหวัด จ านวน 16,661 บ่อ คิดเป็นร้อยละ 5.76

                             2. โครงการงานพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) เริ่มด าเนินการ

                  ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2524 – 2559 มีทั้งหมดจ านวน  8,317 แห่ง มีค่าพิกัดทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ100
                  เมื่อน าข้อมูลค่าพิกัดของแหล่งน้ ามาท าการวิเคราะห์  พบว่า มีค่าพิกัดอยู่ในเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน

                  7,219 แห่ง  คิดเป็นร้อยละ 86.80 มีค่าพิกัดอยู่นอกเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน 662 แห่ง คิดเป็นร้อยละ
                  7.96 มีพิกัดอยู่นอกเขตพื้นที่จังหวัด จ านวน 435 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 5.24


                             3. โครงการพัฒนาแหล่งน้ าชุมชน  เริ่มด าเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555- 2559
                  มีทั้งหมดจ านวน 43 แห่ง  มีค่าพิกัดทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ100 เมื่อน าข้อมูลค่าพิกัดของแหล่งน้ ามาท าการ

                  วิเคราะห์  พบว่า มีค่าพิกัดอยู่ในเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน 33 บ่อ  คิดเป็นร้อยละ 76.74 มีค่าพิกัดอยู่

                  นอกเขตพื้นที่ต าบลเป้าหมาย จ านวน 7 บ่อ คิดเป็นร้อยละ 16.28 มีพิกัดอยู่นอกเขตพื้นที่จังหวัด จ านวน 3 บ่อ
                  คิดเป็นร้อยละ 6.98

                             เมื่อน าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ของแหล่งน้ าทั้ง 3 โครงการ มาวิเคราะห์

                  เปรียบเทียบความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ในระดับต าบล พบว่า แหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน

                  มีความถูกต้องร้อยละ 30.80 แหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า (แหล่งน้ าขนาดเล็ก) มีความถูกต้องร้อยละ 36.72



                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9