Page 29 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจสอบดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         21


                       ตารางที่ 7  ปริมาณการสะสมธาตุอาหารทั้งหมดของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                                       ส่วนเหนือดิน              ในเมล็ด                 รวมทั้งหมด

                        ต ารับที่     (กิโลกรัมต่อไร่)        (กิโลกรัมต่อไร่)         (กิโลกรัมต่อไร่)
                                    N      P       K        N        P      K        N       P        K
                          1       3.45b  0.40  6.51       4.22c  0.88b  1.21b  7.67c  1.27b  7.73b

                          2       6.82a  0.71  12.45  12.02b  3.15a  4.35a  18.85b  3.86a  16.80a

                          3       6.34a  0.73  12.10  15.46bc  3.45a  5.10a  21.80bc  4.19a  17.20a
                          4       7.00a  0.69  12.56  18.27a  3.74a  5.29a  25.27a  4.43a  17.84a

                          5       6.06a  0.60  10.99  16.97bc  3.16a  3.98a  23.03bc  3.75a  14.97a

                          6       6.44a  0.77  13.07  16.22bc  3.42a  4.13a  22.66bc  4.19a  17.20a

                         CV (%)  22.17  30.58  24.05  20.39  27.46  26.65  16.58  24.01  20.57

                        F-test      *      ns     ns        *        *      **      **       **      **

                       หมายเหตุ :  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน แสดงว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น
                                   95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

                                   **   แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (P<0.01)
                                   *  แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (P<0.05)
                                   ns  ไม่แตกต่างกันทางสถิติ

                       7. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                              จากการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและรายได้ของแต่ละวิธีการทดลองทั้ง 6 วิธีการ

                       ตามต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสดได้แก่ ค่าการเตรียมดิน ค่าปลูกข้าวโพด ค่าดูแลรักษา ค่าเก็บเกี่ยวและ
                       ค่าวัสดุการเกษตร พบว่าต ารับการทดลองที่ 1  -  6    มีต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1,986.78 3,002.34
                       3,579.96 3,819.48 3,976.89 3,641.03 บาทต่อไร่ ตามล าดับ โดยต ารับที่ 5 มีต้นทุนผันแปรสูงที่สุด
                       เมื่อพิจารณาราคาผลผลิตที่เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ 5 บาท พบว่าต ารับที่ 2 ได้ผลตอบแทนทาง

                       เศรษฐกิจสูงที่สุด เท่ากับ 2,792.11  บาทต่อไร่ รองลงมาคือต ารับที่ 3  เท่ากับ 2,540.55  บาทต่อไร่
                       ต ารับการทดลองที่ 6 ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่ ากว่าต ารับการทดลองที่ 3 แต่มีผลให้ดินมีสมบัติ
                       ทางเคมีที่ส าคัญดีกว่าวิธีการของกรมวิชาการเกษตรแสดงดังตารางที่ 8
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34