Page 83 - การพัฒนาระบบจัดเก็บ สืบค้น และระบบบริการแผนที่และข้อมูลทางแผนที่ของกรมพัฒนาที่ดิน
P. 83

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          73




                     แผนที่และข้อมูลทางแผนที่ของโครงการฯ ประมาณ 20 เทอราไบต์ โดยได้ก าหนดรูปแบบ ขั้นตอน และวิธีการ
                     ในการจัดเก็บและจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ไว้ดังนี้

                                  1.1) ก าหนดสิทธิของผู้ใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์  3 ระดับ ได้แก่
                                       (1) เจ้าหน้าที่ดูแลและจัดการระบบ มีหน้าที่ในการจัดการผู้ใช้งานระบบ ดูแล

                     บ ารุงรักษาและตรวจสอบการการท างานของระบบและผู้ใช้งาน

                                       (2) เจ้าหน้าที่น าเข้าข้อมูล  มีหน้าที่ในการน าเข้าข้อมูล ปรับปรุง แก้ไข และลบข้อมูล
                     ออกจากระบบ  รวมทั้งการตรวจสอบความสมบูรณ์ ครบถ้วน และคุณภาพของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในระบบฯ

                                       (3) เจ้าหน้าที่จัดท าข้อมูล มีหน้าที่ในการสืบค้นข้อมูล ดาวน์โหลดข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน

                     ระบบเพื่อน าไปจัดท าข้อมูลส าหรับให้บริการ
                                  1.2) การก าหนดรูปแบบการจัดเก็บแผนที่และข้อมูลทางแผนที่  ส าหรับน าเข้าจัดเก็บไว้

                     ภายในระบบจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (RDBMS) ใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาก าหนดรูปแบบการ
                     จัดเก็บข้อมูลไว้ใน 3 โฟลเดอร์หลัก (Main Folder) โดยในแต่ละโฟลเดอร์หลัก จะมีโฟลเดอร์รอง (Sub Folder)

                     ซึ่งใช้ส าหรับจัดเก็บแผนที่และข้อมูลทางแผนที่แต่ละประเภท ที่มีมาตราส่วนเดียวกันไว้ ดังนี้
                                       (1) โฟลเดอร์หลัก “25000” ประกอบด้วย  2 โฟลเดอร์รอง คือ “photo25k”

                     ส าหรับจัดเก็บภาพถ่ายทางอากาศสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:25,000 จ านวน  73,071  ภาพ และ

                     โฟลเดอร์  “ortho25k” ส าหรับจัดเก็บภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:25,000 จ านวน 2,972
                     ระวาง  ซึ่งจะมีโฟลเดอร์รองจ านวน 817 โฟลเดอร์ ที่สร้างขึ้นโดยก าหนดชื่อของแต่ละโฟลเดอร์ตามหมายเลข

                     ระวางแผนที่มาตราส่วน 1:50,000  เช่น 44451 จะเป็นโฟลเดอร์ส าหรับจัดเก็บภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

                     มาตราส่วน 1:25,000 หมาเลขระวาง 44451NE, 44451NW, 44451SE, 44451SW เป็นต้น
                                       (2) โฟลเดอร์หลัก “4000” ประกอบด้วย  3  โฟลเดอร์รอง คือ

                                          (2.1) โฟลเดอร์ “ortho4k”  ส าหรับจัดเก็บภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขมาตราส่วน
                     1:4,000  จ านวน 126,903 ระวาง ซึ่งจะมีโฟลเดอร์รองทั้งหมด 824 โฟลเดอร์ ที่สร้างขึ้นโดยก าหนด

                     ชื่อของแต่ละโฟลเดอร์ตามหมายเลขระวางแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 เช่น 44451 จะเป็นโฟลเดอร์
                     ส าหรับจัดเก็บข้อมูลระวาง 444512844, 444512846 เป็นต้น

                                          (2.2) โฟลเดอร์ “dem” ส าหรับจัดเก็บแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขมาตราส่วน

                     1:4,000  จ านวน 125,690 ระวาง ซึ่งจะมีโฟลเดอร์รองทั้งหมด 824 โฟลเดอร์ ที่สร้างขึ้นโดยก าหนด
                     ชื่อและจัดเก็บข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขเช่นเดียวกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000

                                          (2.3) โฟลเดอร์ “contour” ส าหรับจัดเก็บเส้นชั้นความสูงเชิงเลข มาตราส่วน

                     1:4,000 จ านวน 126,209 ระวาง ซึ่งจะมีโฟลเดอร์รองทั้งหมด 824 โฟลเดอร์ ที่สร้างขึ้นโดยก าหนด
                     ชื่อและจัดเก็บข้อมูลเส้นชั้นความสูงเชิงเลขเช่นเดียวกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000

                                        (3)  โฟลเดอร์หลัก “GCP” ประกอบด้วย 1 โฟลเดอร์รอง คือ “gcp”  ส าหรับจัดเก็บ
                     หมุดหลักฐานภาคพื้นดิน จ านวน 2,616 หมุด
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88