Page 39 - การจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          28


                     ระหว่างจุดไม่เกิน 5 เมตร จากนั้นน าข้อมูลดังกล่าวมาสร้างแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขในรูปแบบราสเตอร์
                     (Raster) โดยวิธีการประมาณค่าความสูงด้วยวิธี Inverse  distance  weighting  (IDW) มีระยะห่างของ

                     ราสเตอร์เท่ากับ 5 เมตร แล้วน ามาจัดเก็บลงบนสื่อบันทึกข้อมูลราสเตอร์ตามมาตรฐานของ ERDAS
                     IMAGINE File Format (img)  ในรูปแบบของจุดระดับเป็นแถวและคอลัมน์ (Row and Column)

                     ความละเอียดจุดภาพเท่ากับ 5 เมตร แต่ละระวางมีขนาดเท่ากับ 2x2 ตารางกิโลเมตร ส าหรับแบบจ าลอง

                     ระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 ที่น ามาใช้ในการด าเนินงานในครั้งนี้ ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
                     จ านวน 3,295  ระวาง














































                     ภาพที่ 3-4 ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1: 4,000 หมายเลขระวาง 5242II 5038


                                2) เส้นชั้นความสูงเชิงเลข  (Contour Line) มาตราส่วน 1:4,000  คือเส้นที่ลากผ่านจุดที่มี
                     ระดับสูงเท่ากันส าหรับใช้แสดงลักษณะความสูงต่ าของพื้นที่ โดยสร้างจากแบบจ าลองระดับสูงที่เป็นจุด

                     ระดับความสูง ร่วมกับข้อมูลเส้นหยุด (Break  line)  และจุดความสูง (Height  Spot)  โดยการสร้างข่าย
                     สามเหลี่ยมไม่ปกติ (Triangulated Irregular Network :TIN ) บริเวณพื้นที่ราบ มีความลาดชันไม่เกิน 35

                     เปอร์เซ็นต์ ระยะห่างระหว่างเส้นชั้นความสูง (Contour Interval)  2 เมตร ส าหรับพื้นที่สูงชัน มีความลาดชัน

                     มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป เมื่อเส้นชั้นความสูงที่ปรากฏบนแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 มีระยะห่างกัน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44