Page 38 - การจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          27


                     ซึ่งเมื่อน ามาเชื่อมต่อกันบริเวณพื้นที่ที่เพิ่มด้านละ 500 เมตรจะซ้อนทับกับระวางข้างเคียง) มีความละเอียด
                     จุดภาพเท่ากับ 1 เมตร จัดเก็บตามมาตรฐาน USGS  SDTS/Geo  TIFF  เกณฑ์ความถูกต้องของภาพถ่าย

                     ออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1 : 4,000 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ในบริเวณพื้นที่ราบและ
                     บริเวณที่มีความลาดชันไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1 เมตร ในบริเวณพื้นที่สูงชัน

                     และมีความลาดชันเกิน 35 เปอร์เซ็นต์ มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 2 เมตร ส าหรับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

                     มาตราส่วน 1:4,000 ที่น ามาใช้ในการด าเนินงานในครั้งนี้ ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์จ านวน
                     3,295  ระวาง










































                     ภาพที่ 3-3 ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1: 4,000 หมายเลขระวาง 5242II 5038


                                3.1.4 ข้อมูลความสูงภูมิประเทศ  ที่น ามาใช้ในโครงการนี้ เป็นข้อมูลที่จัดท าขึ้นภายใต้

                     โครงการจัดท าแผนที่เพื่อการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและทรัพย์สินของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                     ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานหรือข้อมูลน าเข้า (Input data) ที่ส าคัญที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์และจ าแนกความลาดชัน

                     ของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่

                                   1) ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model: DEM) มาตราส่วน
                     1: 4,000 ซึ่งเป็นข้อมูลความสูงภูมิประเทศที่ได้จากการผลิตแบบจ าลองระดับสูงจากภาพคู่ซ้อนสามมิติที่

                     อยู่ติดกันที่ละคู่ภาพโดยการรังวัดด้วยเครื่องร่างแผนที่สามมิติประเภทเชิงเลข (Digital Photogrammetric
                     Stereo  Plotter  ) โดยท าการรังวัดจุดความสูงโดยวิธีสุ่มให้กระจายไปทั่วพื้นผิวภูมิประเทศโดยมีช่วงห่าง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43