Page 23 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12







                       ตารางที่ 2 ชั้นความลาดชันและพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยโป่ง ลุํมน้ าสาขาแมํน้ าปิงตอนบน
                                     ลุํมน้ าหลักแมํน้ าปิง บ๎านทุํงดินด า หมูํ 6 ต าบลเมืองนะ อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหมํ

                                           สภาพพื้นที่                     ความลาดชัน             พื้นที่
                                                                               (%)           ไรํ      ร๎อยละ

                       1.ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ (flat to nearly flat, A)   0 - 2        162    12.64
                       2. ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย (slightly undulating, B)     2 – 5          222    17.32
                       3. ลูกคลื่นลอนลาด (undulating, C)                      5 – 12         153    11.93
                       4. ลูกคลื่นลอนชัน (rolling, D)                        12 – 20         220    17.16

                       5. เนินเขา (hilly, E)                                 20 – 35         400    31.20
                       6. พื้นที่สูงชัน (steep, F)                           35 - 50         126       9.83

                                                รวมพื้นที่ทั้งหมด                          1,282    100.00
                       ที่มา : กลุํมวางแผนการใช๎ที่ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 (2559)


                       2.4 ลักษณะธรณีวิทยา
                            จากการศึกษาแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดเชียงใหมํ ของกรมทรัพยากรธรณีมาตราสํวน
                       1 :  250,000  (ภาพที่ 4)  พบวํา ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยโป่ง ลุํมน้ าสาขาแมํน้ าปิง
                       ตอนบน  ลุํมน้ าหลักแมํน้ าปิง บ๎านทุํงดินด า หมูํ 6 ต าบลเมืองนะ อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหมํพบ

                       ประเภทของกลุํมหินตามล าดับอายุการเกิด ดังนี้
                            หินในยุค Devonian มีอายุระหวําง 355-410 ล๎านปี มีลักษณะเป็นหินเชิร์ต หินดินดาน บาง
                       แหํงเป็นหินทัฟฟ์
                            หินในยุค Lower Carboniferous มีอายุระหวําง 320-355 ล๎านปี มีลักษณะเป็นหินดินดาน สี

                       น้ าตาลถึงน้ าตาลแดง และสีเทาจางถึงเทา มีซากหอยสองฝา สกุลโพซิโดเนียเบเชอไร หอยบริคโอพอด
                            หินในยุค Upper Carboniferous  มีลักษณะเป็นหินทรายเนื้อทัฟฟ์ เม็ดละเอียดกึ่งปานกลาง
                       การคัดขนาดปานกลางคํอนข๎างมน สีมํวงแดง และแดงเทา เป็นชั้นหนา แทรกสลับกับหินดินดานเนื้อ
                       ทัฟฟ์ และหินทรายแป้งเนื้อทัฟฟ์

                            หินในยุค Quaternary (Holocene – Pleistocene) มีอายุระหวําง ปัจจุบัน 1.8-0.11 ล๎านปี
                       มีลักษณะพื้นที่เป็นตะกอนชายฝั่งทะเลโดยอิทธิพลของน้ าขึ้นน้ าลง ดินเหนียว ทรายแป้ง และทราย
                       ละเอียดของที่ราบลุํมน้ าขึ้นถึง ที่ลุํมชื้นแฉะ ที่ลุํมน้ าขังป่าชายเลน และชะวากทะเล
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28