Page 21 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10







                            ชํวงที่มีน้ าเพียงพอ (Utilized  period) คือ ชํวงที่มีปริมาณน้ าฝนมากกวําครึ่งหนึ่งของคําศักย์
                       ของการระเหยน้ า (0.5 PET) แตํไมํเกินคําศักย์ของการระเหยน้ า อยูํในชํวงปลายเดือนเมษายนถึงต๎น
                       เดือนพฤษภาคม ชํวงที่สองต๎นเดือนกรกฎาคมถึงกลางเดือนกรกฎาคม และในชํวงปลายเดือนตุลาคม
                       ถึงกลางเดือนพฤศจิกายน แสดงวําปริมาณน้ าฝนในชํวงดังกลําวท าให๎ดินมีความชื้นเพียงพอตํอการ

                       เจริญเติบโตของพืช
                            ชํวงขาดน้ า (Deficit  period) คือ ชํวงที่มีปริมาณฝนตกน๎อยกวําครึ่งหนึ่งของคําศักย์ของการ
                       ระเหยน้ า (0.5 PET) อยูํในชํวงระหวํางกลางเดือนพฤศจิกายนจนถึงปลายเดือนเมษายนของปีถัดไป
                       แสดงวําปริมาณน้ าฝนในชํวงดังกลําวมีไมํเพียงพอตํอการเจริญเติบโตของพืช

                            ชํวงน้ ามากเกินพอ (Surplus  water  period) คือ ชํวงที่มีปริมาณน้ าฝนมากกวําคําศักย์ของ
                       การระเหยน้ า (PET) อยูํในชํวงระหวํางกลางเดือนกรกฎาคมถึงปลายเดือนตุลาคม แสดงวําปริมาณ
                       น้ าฝนในชํวงดังกลําวเป็นชํวงที่ความสมดุลของน้ าในดินมีมากเกินความต๎องการของพืช
                            อาจกลําวโดยสรุปวํา ฤดูการเพาะปลูกพืชโดยอาศัยน้ าฝนจะเริ่มตั้งแตํปลายเดือนเมษายนไป

                       จนถึงประมาณต๎นเดือนพฤศจิกายน จากชํวงต๎นเดือนพฤศจิกายนไปจนถึงปลายเดือนเมษายนจะเป็น
                       ชํวงการขาดน้ าของพืช หากท าการเพาะปลูกในชํวงเวลาดังกลําว จะต๎องมีระบบการชลประทานหรือ
                       แหลํงน้ าเข๎ามาชํวยสนับสนุนในการด าเนินกิจกรรมเทํานั้นจึงจะให๎ผลตอบแทนคุ๎มคํา

                       2.3 ลักษณะภูมิประเทศ
                            สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของลุํมน้ าห๎วยโป่ง สํวนใหญํเป็นพื้นที่ภูเขาสูง-ต่ า สลับซับซ๎อน

                       ทอดตามแนวทิศตะวันออก - ทิศตะวันตก ซึ่งเป็นเทือกเขาที่เกิดจากหินตะกอนและหินแปรเป็นสํวน
                       ใหญํ ซึ่งพื้นที่ลาดเทไปทางทิศเหนือ ยอดเขาสูงที่สุดของพื้นที่ลุํมน้ าห๎วยโป่งมีความสูงประมาณ 630
                       เมตร จากระดับทะเลปานกลาง และพื้นที่ลุํมมีความสูงประมาณ 440 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง

                       ส าหรับต าบลเมืองนะพื้นที่สํวนใหญํ เป็นที่ราบเชิงเขามีภูเขาและป่าไม๎เป็นจ านวนมาก ซึ่งสามารถแยก
                       ออกได๎ดังนี้
                                  2.3.1 พื้นที่สูง เป็นภูเขาและป่าไม๎ สํวนใหญํใช๎ส าหรับประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
                       เชํน ปลูกข๎าวโพด
                                  2.3.2 พื้นที่ราบ เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา มีความลาดเทจากเชิงเขาด๎านทิศตะวันออกเฉียงใต๎

                       ลาดเทไปยังทิศเหนือมีความลาดชันเล็กน๎อย เป็นที่อยูํของคนไทยพื้นราบ สํวนใหญํประกอบอาชีพ
                       เกษตรกรรมเป็นหลัก เชํน นาข๎าว ไม๎ผล พืชไรํและพืชผัก เป็นต๎น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26