Page 16 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                       2.2 สภาพภูมิอากาศ

                              จากสถิติภูมิอากาศในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2528–2557) ของสถานีตรวจอากาศจังหวัดร้อยเอ็ด

                       ได้น้ามาใช้พิจารณาเป็นตัวแทนลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ด้าเนินงาน (ตารางที่ 1) สรุปได้ดังนี้
                              2.2.1 ปริมาณน้้าฝน

                                  มีปริมาณน้้าฝนรวมตลอดปี 1,390.4 มิลลิเมตร มีจ้านวนวันที่ฝนตกรวม 120.9 วัน

                       โดยมีปริมาณน้้าฝนมากที่สุดในเดือนกันยายน 275.7 มิลลิเมตร และมีปริมาณน้้าฝนน้อยที่สุดในเดือน
                       ธันวาคม เท่ากับ 2.3 มิลลิเมตร

                              2.2.2 อุณหภูมิ
                                  มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.8 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน

                       เท่ากับ 29.3 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิต่้าสุดในเดือนมกราคม เท่ากับ 22.8 องศาเซลเซียส

                              2.2.3 ความชื้นสัมพัทธ์
                                  มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี  70.9 เปอร์เซ็นต์ โดยในเดือนกันยายนมีความชื้น

                       สัมพัทธ์สูงที่สุด 86.0 เปอร์เซ็นต์ และในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคมมีความชื้นสัมพัทธ์ต่้าที่สุด
                       เท่ากัน คือ 67.0 เปอร์เซ็นต์

                              2.2.4 สมดุลน้้าเพื่อการเกษตร

                                  การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับ
                       ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน้้าของพืชเฉลี่ยรายเดือน

                       (Evapotranspiration  :  ETo)  ซึ่งค้านวณโดยใช้โปรแกรม  Cropwat  for  Windows  Version  4.3

                       มาก้าหนดจุดกราฟลงบนกระดาษ โดยพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้้าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo
                       เป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชของต้าบล สามารถสรุปได้ดังนี้ (ภาพที่ 2)

                                   1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก จะอยู่ในช่วงตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึง

                       ต้นเดือนพฤศจิกายน หลังจากนั้นจะมีความชื้นหลงเหลืออยู่ในดินในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเพียงพอ
                       ส้าหรับปลูกพืชไร่ พืชผักอายุสั้น หรือพืชใช้น้้าน้อย ซึ่งต้องใช้แหล่งน้้าในไร่นาช่วยเสริมการเพาะปลูกได้

                       บ้าง แต่ทั้งนี้ควรวางแผนจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ และจากการวิเคราะห์สภาพ
                       ภูมิอากาศและความต้องการน้้า อาจกล่าวได้ว่าพื้นที่มีศักยภาพสามารถปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ผล และไม้

                       ยืนต้นได้ดี

                                   2) ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ซึ่งมีปริมาณน้้าฝนและการกระจายของฝน
                       น้อยหรือไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช จะอยู่ในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนเมษายน

                       ของทุกปี
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21