Page 66 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 66

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       52







                                                             บทที่ 5
                                                              สรุป


                       5.1 สรุปผลการด าเนินงาน
                                 การด่าเนินงานใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่

                       ระบบเกษตรอินทรีย์ ต่าบลแหลมงอบ อ่าเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด สรุปได้ดังนี้
                              การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินในพื้นที่ด่าเนินการ  พบว่า ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ของดินมีค่าเพิ่มขึ้นในปี 2558 เป็นผลมาจากการใช้ปูนโดโลไมท์หว่านรอบทรงพุ่มทุเรียนเพื่อปรับ
                       สภาพความเป็นกรดของดินก่อนด่าเนินงานในปี 2557 ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินมีค่าลดลงในปี

                       ต่อมา เนื่องมาจากพื้นที่ด่าเนินการมีปริมาณน้่าฝนอยู่ในเกณฑ์สูง เมื่อฝนตกลงมาจะชะละลายธาตุที่
                       เป็นด่างในดินชั้นบนลงสู่ชั้นดินล่างท่าให้ดินบนเป็นกรดเพิ่มขึ้น ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีค่าเพิ่มขึ้น
                       อย่างต่อเนื่องทุกปี เป็นผลมาจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม

                       ที่เป็นประโยชน์ในดินมีค่าเพิ่มขึ้นในปี 2558 เป็นผลมาจากการใช้ปุ๋ยพืชสด (ถั่วพร้า) ปรับปรุงดินในปี
                       แรก ร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักจากมูลเป็ด มูลไก่ มูลสุกร และมูลวัว ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่
                       เป็นประโยชน์มีค่าลดลงในปี 2559-2560 อาจเป็นผลมาจากการที่ดินมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม ท่า
                       ให้ทุเรียนสามารถดูดดึงธาตุทั้งสองไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น
                              ปริมาณผลผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองในแปลงด่าเนินงาน พบว่า ก่อนการด่าเนินงานในปี

                       2557 ปริมาณผลผลิตมีไม่มากนัก หลังจากน่าเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดินเข้ามา
                       ด่าเนินการ พบว่า ในปี 2558 และ ปี 2559 ผลผลิตทุเรียนมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ส่วนในปี 2560 นั้น
                       ผลผลิตทุเรียนมีปริมาณลดลงเล็กน้อย เนื่องจากปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการติดลูกของทุเรียน เช่น

                       สภาพอากาศ การระบาดของแมลงศัตรูพืช และโรคพืช  ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ผลผลิตทุเรียน
                       ดังนั้น ปัจจัยการผลิตทุเรียนที่ส่าคัญ คือ การบ่ารุงต้นด้วยปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อให้ได้รับธาตุอาหารที่
                       เพียงพอต่อการสร้างผลผลิต มีการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับสภาพดิน และการดูแลรักษาต้นทุเรียนให้มี
                       ความสมบูรณ์ไม่ถูกท่าลายด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรครากเน่าโคนเน่า และแมลงศัตรูพืช

                                  ในส่วนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ จากผลการด่าเนินงานเปรียบเทียบผลตอบแทนเหนือ
                       ต้นทุนผันแปรในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองระหว่างแปลงด่าเนินงานและแปลงเคมี พบว่า ในปี
                       2558 - 2560 พบว่า ผลตอบแทนต้นทุนผันแปรแปลงเคมีเหนือกว่าแปลงด่าเนินงาน ผลตอบแทน
                       ผลผลิตแปลงเคมีเหนือกว่าแปลงด่าเนินงาน ผลตอบแทนราคาผลผลิตแปลงเคมีเท่ากับแปลง

                       ด่าเนินงาน ผลตอบแทนมูลค่าผลผลิตแปลงเคมีเหนือกว่าแปลงด่าเนินงาน ในส่วนผลตอบแทนเหนือ
                       ต้นทุนผันแปรนั้น ในปี 2558 และปี 2559 แปลงด่าเนินงานให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรสูงกว่า
                       แปลงเคมี เนื่องจากแปลงเคมีมีต้นทุนผันแปรสูงกว่าแปลงด่าเนินงาน แต่ในปี 2560 นั้นแปลง
                       ด่าเนินงานให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรน้อยกว่าแปลงเคมี เนื่องจากแปลงด่าเนินงานให้ผลผลิต

                       น้อยกว่า ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพภูมิอากาศของปีนั้น รวมถึงการระบาดแมลงศัตรูพืช และการเกิดโรค
                       พืชต่างๆ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อผลผลิตทุเรียน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71