Page 54 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       39







                       เพื่อการอุปโภคบริโภค สรุปได้ว่า ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีความต้องการน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภคทั้งหมด
                       2.77 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีการใช้น้้าของประชาชนในเขตเทศบาลเฉลี่ย 4.52 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
                       และการใช้น้้าของประชาชนนอกเขตเทศบาลเพื่อการอุปโภคบริโภค 7.29 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
                                2) เกณฑ์ความต้องการน้้าเพื่อท้าการอุตสาหกรรมในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร

                                    กรมชลประทาน (2558)  ได้เผยแพร่ข้อมูล การศึกษาความต้องการใช้น้้าเพื่อการ
                       อุตสาหกรรม เป็นการศึกษาถึงความต้องการน้้าเพื่อการอุตสาหกรรมของโรงงานประเภทต่างๆ ในเขต
                       พื้นที่ลุ่มน้้า ซึ่งมีความต้องการใช้น้้าที่แตกต่างกันตามประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ได้จ้าแนกไว้เป็น
                       10 ประเภท ตามความต้องการใช้น้้าของประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ใช้ฐานข้อมูลจากทะเบียน

                       โรงงานอุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีปริมาณความ
                       ต้องการน้้าตามประเภทอุตสาหกรรมหลัก โดยมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 9

                       ตารางที่ 9 เกณฑ์ความต้องการใช้น้้าตามประเภทโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ

                                                                                             ปริมาณ

                        รหัส    ประเภท          รายละเอียดประเภทอุตสาหกรรมหลัก           ความต้องการน้้า
                                                                                      (ลูกบาศก์เมตร/ไร่/วัน)

                         01   Accessory   อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ต่างๆ                 6.00

                         02   Chemical   อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์                                  8.00

                         03   Food       อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม                         12.00

                         04   Metal      อุตสาหกรรมถลุง หล่อ โลหะ                             5.00

                         05   Other      อุตสาหกรรมทั่วไป                                     7.00

                         06   Outside   อุตสาหกรรมกลางแจ้ง เช่น โม่-บดหิน ดูดทราย เผาถ่าน     4.00
                                         หีบฝ้าย อบเมล็ดพืช ฯลฯ
                         07   Paper      อุตสาหกรรมกระดาษ เช่น ผลิตเยื่อกระดาษ                4.00
                                         ภาชนะจากกระดาษ ฯลฯ
                         08   Textile    อุตสาหกรรมสิ่งทอ ฟอกหนัง ย้อมสี                      5.00

                         09   Unmetal   ผลิตภัณฑ์อโลหะ เช่น แก้ว กระเบื้องเคลือบ ปูน ฯลฯ      8.00

                         10   Wood       ผลิตภัณฑ์ไม้ เครื่องเรือน                            3.00


                       ที่มา : กรมชลประทาน (2558)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59