Page 20 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       11







                       2.4  สภาพภูมิอากาศ
                              สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปในลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร ได้รับอิทธิพลที่พัดจากทะเลจีนใต้
                       เป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ  และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นลมมรสุมฤดูร้อน เกิดในช่วง

                       เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม รวมระยะเวลากว่า 5 เดือน นอกจากนี้ในแต่ละปีจะได้รับอิทธิพลจาก
                       พายุดีเปรสชั่น และไต้ฝุ่นจากทะเลจีนใต้ ท้าให้มีฝนตกหนักในฤดูฝน
                              จากการรวบรวมข้อมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัด
                       นครราชสีมา ในรอบ 30 ปี ช่วงปี พ.ศ. 2528-2558 ดังตารางที่ 2 ประกอบด้วยอุณหภูมิสูงสุด

                       อุณหภูมิต่้าสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้้าฝน น้้าฝนใช้การได้ จ้านวนวันฝนตก ความชื้นสัมพัทธ์
                       ศักยภาพการคายระเหยน้้า อธิบายได้ดังนี้
                                1) อุณหภูมิ
                                  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.5 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิ

                       สูงสุดเฉลี่ยตลอดปี 33.0 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน คือ 36.5 องศาเซลเซียส
                       และมีอุณหภูมิต่้าสุดเฉลี่ยตลอดทั้งปี 22.9 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิต่้าสุดในเดือนธันวาคม คือ
                       18.6 องศาเซลเซียส

                                2) ปริมาณน้้าฝน
                                  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีปริมาณน้้าฝน 1,081.4 มิลลิเมตร โดยในเดือนกันยายน
                       มีปริมาณน้้าฝนมากที่สุด 227.1 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมมีปริมาณน้้าฝนน้อยที่สุด คือ 2.1 มิลลิเมตร
                                3) ปริมาณน้้าฝนใช้การได้ (Effective Rainfall : ER)
                                  ปริมาณน้้าฝนใช้การได้ คือ ปริมาณน้้าฝนที่เหลืออยู่ในดิน ซึ่งพืชสามารถน้าไปใช้

                       ประโยชน์ได้ภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวด้วยน้้าแล้วไหลบ่าออกมากักเก็บใน
                       พื้นดินลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีปริมาณน้้าฝนใช้การได้ 829.5  มิลลิเมตร ในเดือนกันยายน มีปริมาณ
                       น้้าฝนใช้การได้มากที่สุด 144.6 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมมีปริมาณน้้าฝนใช้การได้น้อยที่สุด คือ

                       2.1 มิลลิเมตร
                                4) ความชื้นสัมพัทธ์และศักยภาพการคายระเหยน้้า
                                  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร พบว่า มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 70.3 เปอร์เซ็นต์
                       ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดปี 80.4 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 90.5 มิลลิเมตร

                       ในเดือนกรกฎาคม ปริมาณการคายระเหยต่้าสุด 66.7 มิลลิเมตรในเดือนมกราคม
                                5) การวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมส้าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ
                                  การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใช้
                       ข้อมูลปริมาณน้้าฝนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน้้าของพืชรายเดือนเฉลี่ย

                       (Evapotranspiration  :  ETo) ซึ่งค้านวณและพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้้าฝนอยู่เหนือเส้น
                       0.5 ETo ถือเป็นช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ในการปลูกพืช จากการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่เหมาะสม
                       จากการปลูกพืชเศรษฐกิจลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร ดังภาพที่ 4 สามารถสรุปได้ดังนี้
                                    5.1)  ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชื้น

                       พอเหมาะต่อการปลูกพืช ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนปกติอยู่ในช่วงระหว่างกลางเดือนมีนาคมถึงกลางเดือน
                       พฤศจิกายน ซึ่งในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนนั้น เป็นช่วงที่มีปริมาณน้้าฝนเพียงเล็กน้อยแต่เนื่องจาก
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25