Page 9 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
1.4 ขั้นตอนและวิธีด าเนินงาน
1.4.1 อุปกรณ์
1) ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข พ.ศ. 2545 มาตราส่วน 1: 25,000 ของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ จังหวัดพิจิตร
2) ข้อมูลเชิงเลขจากดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) ระบบช่วงคลื่นเดี่ยว
(Panchromatic) และระบบหลายช่วงคลื่น (Multispectrum) จ านวน 16 ภาพ บันทึกข้อมูลเมื่อ
วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552 วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553 วันที่ 11
มีนาคม พ.ศ. 2553 วันที่ 9 กรกฎาคมพ.ศ. 2553 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2554 และวันที่ 6 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2555 จากส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3) ข้อมูลจากดาวเทียม Landsat 8 OLI จ านวน 1 ภาพ บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่
23 มกราคม พ.ศ. 2559
4) แผนที่สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2556 มาตราส่วน 1: 25,000 จาก
ฐานข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5) แผนที่ขอบเขตการปกครองระดับต าบลจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2555 จากกรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย
6) แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 ล าดับชุด L7018 จากกรมแผนที่ทหาร
กระทรวงกลาโหม จ านวน 5 ระวาง คือ ระวาง 5040I ระวาง 5040IV ระวาง5041III ระวาง 5041IV
และ 5042III
7) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล พร้อมอุปกรณ์ต่อพ่วง
8) โปรแกรมวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้แก่ โปรแกรม
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (QGIS ver. 2.6.1 และ ArcMap ver. 9.3)
9) เครื่องค านวณระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก
10) เข็มทิศและอุปกรณ์สนามอื่น ๆ
1.4.2 วิธีการด าเนินงาน
1) รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และ
รายงาน ที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดพิจิตร เพื่อน าข้อมูลดังกล่าวมาก าหนดแผนการด าเนินงาน
2) การเตรียมข้อมูลดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศ เนื่องจากข้อมูลจากดาวเทียม
ไทยโชต และ Landsat 8 OLI ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีทั้งข้อมูลเชิงเลข (Digital data) และข้อมูลเชิงภาพ
(Analog data) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้
(1) การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (Geometric correction)
เนื่องจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชตที่ได้มา มีความคลาดเคลื่อนในเชิงต าแหน่งทางภูมิศาสตร์ จึงต้อง
ด าเนินการแก้ไขต าแหน่งให้มีความถูกต้อง เพื่อให้สามารถซ้อนทับกับชั้นข้อมูลอื่น ๆ ได้ โดยน ามา
ตรึงพิกัดกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1: 4,000 ระบบ WGS 1984 ของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง เพื่อให้มีความถูกต้องทางด้านต าแหน่ง และทิศทาง ด้วยวิธีการตรึง
แบบ Image to Image