Page 73 - ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3
P. 73
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ดินเค็มที่พบในประเทศไทย จ�ำแนกตำมลักษณะกำรเกิดและสัณฐำนภูมิประเทศได้
2 ประเภท คือ
1. ดินเค็มชำยฝั่งทะเล พบมำกที่สุดตำมแนวชำยฝั่งทะเล โดยเฉพำะในภำคใต้ ในบริเวณ
พื้นที่ที่ยังคงมีน�้ำทะเลท่วมถึง หรือเคยเป็นพื้นที่ที่มีน�้ำทะเลท่วมมำก่อน ท�ำให้มีกำรสะสมเกลือในดิน
2. ดินเค็มบก หรือ ดินเค็มในแผ่นดิน พบมำกในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณ
พื้นที่ลุ่มหรือตำมเชิงเนิน โดยเฉพำะในบริเวณแอ่งโครำชและแอ่งสกลนคร และพบบ้ำงในภำคกลำง
แถบจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์
ปัญหำของดินเค็ม
กำรที่มีปริมำณเกลือที่ละลำยน�้ำได้ง่ำยอยู่ในดินมำกเกินไป จะท�ำให้เกิดอันตรำยต่อพืชที่
ปลูกได้ เนื่องจำกพืชจะเกิดอำกำรขำดน�้ำ และได้รับพิษจำกธำตุที่เป็นส่วนประกอบของเกลือที่ละลำย
ออกมำและสะสมอยู่ในดิน โดยเฉพำะโซเดียมและคลอไรด์ ท�ำให้ปลูกพืชไม่ได้ผลดีหรือผลผลิตลดลง
และมีคุณภำพต�่ำ
กำรปรับปรุงแก้ไข
1. กำรจัดกำรดินเค็มชำยฝั่งทะเล อำจท�ำได้ 2 ลักษณะ คือ กำรจัดกำรให้เหมำะกับสภำพ
ธรรมชำติที่มีอยู่ เช่น กำรปลูกป่ำชำยเลน กำรท�ำนำเกลือ กำรเพำะเลี้ยงสัตว์น�้ำ หรือกำรดัดแปลง
สภำพธรรมชำติ เช่น กำรสร้ำงเขื่อนปิดกั้นน�้ำทะเล เพื่อพัฒนำให้เป็นพื้นที่เพำะปลูกถำวร และยก
เป็นร่องสวนเพื่อปลูกไม้ทนเค็ม เป็นต้น
2. กำรจัดกำรดินเค็มในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกำรใช้
เทคโนโลยีพื้นบ้ำน เช่น กำรใช้น�้ำล้ำงเกลือออกจำกดิน กำรเพิ่มอินทรียวัตถุ
ให้กับดินโดยไถกลบพืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ หรือใส่วัสดุปรับปรุงดิน เช่น
แกลบสด เพื่อปรับปรุงโครงสร้ำงดิน และเพิ่มควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน
กำรคลุมดินด้วยเศษวัสดุ เช่น ฟำงข้ำว เพื่อรักษำควำมชื้นในดินไว้ หรือกำร
ปลูกข้ำวโดยใช้ต้นกล้ำที่อำยุมำกกว่ำปกติ และปักด�ำด้วยจ�ำนวนต้นมำกกว่ำปกติ เลือกปลูก
พืชทนเค็ม เช่น อะคำเซียแอมพิเซฟ สะเดำ ยูคำลิปตัส และในขณะเดียวกันก็ต้องระมัดระวังในกำรท�ำ
กิจกรรมบำงอย่ำง ที่จะมีผลกระทบต่อกำรที่จะท�ำให้เกลือแพร่กระจำยไปยังบริเวณอื่นได้ เช่น กำรท�ำ
เหมืองเกลือขนำดใหญ่ กำรตัดไม้ท�ำลำยป่ำ หรือกำรสร้ำงอ่ำงเก็บน�้ำในพื้นที่ที่มีแหล่งสะสมเกลือ
66 ความรู้เรื่องดินส�าหรับเยาวชน