Page 66 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 66

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      60



                     ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ าท่วมซ้ าซากเป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว และพื้นที่ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น
                     โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวพันธุ์ข้าวสังข์หยด ข้าวพันธุ์เล็บนก ข้าวหอมพันธุ์ปทุม 1 และข้าวเหนียวคอด า
                     ซึ่งน้ าจะท่วมช่วงที่เกษตรกรเริ่มเพาะปลูกข้าวช่วงเดือนพฤศจิกายน ส่วนไม้ผลและไม้ยืนต้นที่ได้รับ

                     ผลกระทบ ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน และยางพารา เป็นส่วนใหญ่ โดยการท่วมขังส่วนใหญ่ท่วมขังที่ระดับความลึก
                     30-50 เซนติเมตร ระยะเวลาท่วมขังนาน 15-30 วัน โดยเป็นการท่วมซึ่งเกิดจากปัจจัยปริมาณน้ าฝนที่
                     ตกหนักมากและต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ท าให้เกิดน้ าท่วมแบบฉับพลันและน้ าป่าไหลหลาก ปริมาณน้ า
                     มากจนล้นตลิ่งแม่น้ า ท าให้สภาพน้ าท่าเกินความจุของล าน้ า น้ าจึงไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรท าให้
                     พืชเศรษฐกิจได้รับความเสียหาย (ตารางที่ 11 และ ตารางผนวกที่ 1)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71