Page 65 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      59



                     4.3    ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื นที่น ้าท่วมซ ้าซาก

                           จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการน าแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินระดับจังหวัดซ้อนทับกับแผนที่
                     น้ าท่วมซ้ าซากของภาคใต้ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พบว่ามีพื้นที่การเกษตรที่ได้คาดว่าจะได้รับ
                     ผลกระทบและความเสียหายจากปัญหาน้ าท่วมซ้ าซากจ านวน 3,844,690 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 8.69
                     ของพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งพื้นที่บริเวณที่เกิดน้ าท่วมซ้ าซากมีการเพาะปลูกข้าวเป็นหลัก โดยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าว

                     ที่ได้รับผลกระทบจากน้ าท่วมซ้ าซากจ านวน 1,711,640 ไร่ รองลงมาได้แก่ ไม้ยืนต้นโดยเฉพาะ
                     ยางพาราจ านวน 812,132 ไร่ และไม้ผลจ านวน 155,204 ไร่ ตามล าดับ ซึ่งจากการส ารวจพื้นที่เกษตร
                     ที่ได้รับผลกระทบจากพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากของภาคใต้ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึง สิงหาคม

                     พ.ศ. 2558 จ านวน 56 จุดส ารวจ สามารถแบ่งพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบออกเป็น 3 ระดับ ได้ดังนี้
                           ระดับ 1 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากครั้งคราว โดยประสบน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี  สภาพ
                     พื้นที่เป็นที่ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ มีน้ าแช่ขังประมาณ 3-5 วันในรอบปี ลักษณะดิน เป็นดินลึกถึงลึก
                     มาก การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติค่อนข้างต่ าถึงสูง มี
                     พื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบ จ านวนทั้งสิ้น 2,620,331 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 777,922 ไร่ พืชไร่

                     658 ไร่ ไม้ยืนต้น 720,867 ไร่ ไม้ผล 123,309 ไร่ พืชสวน 13,273 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่ง
                     หญ้า และไม้ละเมาะ 984,302 ไร่
                           ระดับ 2 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง โดยประสบน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี สภาพพื้นที่

                     เป็นที่ราบเรียบ เกือบราบเรียบ ถึงค่อนข้างราบเรียบ  มีน้ าแช่ขังประมาณ 4-5 เดือนในรอบปี
                     ลักษณะดิน เป็นดินลึกถึงลึกมาก การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม
                     ธรรมชาติค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบ จ านวนทั้งสิ้น 940,445 ไร่ ได้แก่
                     นาข้าว 657,479 ไร่ พืชไร่ 530 ไร่ ไม้ยืนต้น 86,158 ไร่  ไม้ผล 310457 ไร่ พืชสวน 10,550 ไร่ และพื้นที่

                     อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 154,271 ไร่
                           ระดับ 3 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า โดยประสบน้ าท่วมขัง 8-10 ครั้งในรอบ 10 ปี สภาพ
                     พื้นที่เป็นที่ราบเรียบ เกือบราบเรียบ ถึงค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังประมาณ 4-5 เดือนในรอบปี
                     ลักษณะดิน เป็นดินลึกถึงลึกมาก การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ

                     ค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบ จ านวนทั้งสิ้น 283,914 ไร่ ได้แก่ นาข้าว
                     276,240 ไร่ พืชไร่ 755 ไร่ ไม้ยืนต้น 5,106 ไร่ ไม้ผล 438 ไร่ พืชสวน 643 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่
                     พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ 732 ไร่
                           โดยจังหวัดที่มีพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายและผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ จังหวัด

                     นครศรีธรรมราชมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 1,528,016 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัด
                     สุราษฎร์ธานีมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 651,216 ไร่ และจังหวัดสงขลามีพื้นที่
                     การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 526,772 ไร่ ตามล าดับ ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซาก

                     เป็นการน าฐานข้อมูล ปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ร่วมกันซึ่งอาจมีการคลาดเคลื่อนได้
                     ซึ่งการคลาดเคลื่อนอาจเกิดจากสภาพการแปรปรวนของอากาศในแต่ละปี สภาพพื้นที่ที่เปลี่ยนไป
                     ดังนั้นจึงจ าเป็นที่จะต้องมีการสุ่มส ารวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบและปรับแก้ไขข้อมูลอีกครั้งหนึ่งเพื่อ
                     ความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งจากการส ารวจพื้นที่เกษตรที่เสี่ยงภัยน้ าท่วมซ้ าซากในภาคสนามช่วงกลางเดือน
                     ตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงกลางเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 จ านวนทั้งสิ้น 56 จุด พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70