Page 35 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของหมอดินอาสา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       25



                       แหล่งน้ าไว้ใช้ในช่วงฝนทิ้งช่วงนานส าหรับพื้นที่เสื่อมโทรม ควรฟื้นฟูให้กลับมาเป็นพื้นที่ป่า (กรม
                       พัฒนาที่ดิน, 2554)
                                     4) การกร่อนของดิน บางบริเวณ มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นถึงเนินเขาและมีเนื้อดิน
                       ค่อนข้างเป็นทราย ท าให้ง่ายต่อการถูกกร่อนจากแรงกระแทกของเม็ดฝนและถูกพัดพาโดยน้ าที่ไหล่

                       บ่าผ่านผิวดิน ท าให้เกิดเป็นร่องกว้าง ท าความเสียหายกับพืชที่ปลูกและเป็นอุปสรรคต่อการจัดการ
                       ที่ดินและการไถพรวน
                                     แนวทางแก้ไข การใช้ประโยชน์พื้นที่บริเวณนี้ ควรมีการไถพรวนให้น้อยที่สุดและไถ
                       ขวางความลาดชัน ปรับปรุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยเคมี

                       มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า เช่นใช้วัสดุคลุมดิน ท าคันดิน ปลูกหญ้าแฝกหรือปลูกพืชแถบสลับ
                       ในพื้นที่ที่เป็นร่องที่เกิดจากการกร่อน ควรไถกลบและปรับปรุงดิน พร้อมเปลี่ยนทางเดินของน้ าไหลบ่า
                       เพื่อไม่ให้เกิดการกร่อนของน้ าซ้ าในพื้นที่เดิม
                                     5) พื้นที่มีความลาดชันสูงหรือพื้นที่ภูเขา พื้นที่ที่มีความลาดชัน มากกว่าร้อยละ 35

                       หรือเป็นพื้นที่ภูเขา ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรกรรม เนื่องจากยากต่อการจัดการดูแลรักษา
                       ใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า ท าให้เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และยังเป็นการท าลายระบบนิเวศน์ของป่า
                       อีกด้วย ได้แก่ หน่วยแผนที่ 62 มีเนื้อที่ประมาณ 121,558 ไร่ หรือร้อยละ 10.02 ของพื้นที่

                                     แนวทางแก้ไข ควรรักษาไว้ให้เป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์
                       ของสัตว์ป่า เป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร ถ้ามีความจ าเป็นต้องน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ควรมีการ
                       ส ารวจดินและเลือกใช้พืชที่มีศักยภาพในการเกษตร เป็นดินลึกและมีความลาดชันไม่สูงมากนัก โดยท า
                       การเกษตรแบบวนเกษตรและมีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554)


                       ตารางที่ 4 ปัญหาทรัพยากรดินปัตตานี
                                     ปัญหาทรัพยากรดิน                               เนื้อที่ (ไร่)
                                ดินอินทรีย์                                             -

                                ดินเค็ม                                              31,656
                                ดินเปรี้ยวจัด                                        99,916
                                ดินทราย                                             162,992
                                ดินตื้น                                              36,801

                                พื้นที่หินโผล่                                       2,795
                                พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                               107,530
                                          รวม (ไร่)                                 441,690

                       ที่มา: วุฒิชาติ (2550)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40