Page 23 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               16







                                  กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะในการท านามากกว่าปลูกพืชไร่ พืชผัก และไม้ผล แต่สามารถ
                       ใช้ปลูกพืชไร่อายุสั้นและพืชผักในฤดูแล้งหรือหลังการเก็บเกี่ยวข้าว ถ้ามีแหล่งน้ าธรรมชาติเสริม
                       ปัญหาและข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ที่ดินกลุ่มนี้ในการปลูกพืช ได้แก่ น้ าท่วมขังในฤดูฝน การระบายน้ า
                       ของดินค่อนข้างเลวถึงเลว ขาดแคลนน้ าในบางช่วงของการเพาะปลูก ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึง

                       ปานกลาง และสมบัติทางกายภาพไม่ดีพอส าหรับปลูกพืชไร่ พืชผัก และไม้ผล
                            2.4.9  กลุ่มชุดดินที่ 21 มีเนื้อที่ 3,851 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 เป็นกลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนลึกมาก
                       สีเทา เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนแม่น้ า พบบริเวณพื้นที่ลุ่มตะกอนน้ าพาที่เป็นส่วนต่ าของ
                       สันดินริมน้ า มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน การระบายน้ า

                       ค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง มีน้ าไหลบ่าท่วมขังสูงในฤดูฝน มีเนื้อดินชั้นบน
                       เป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเทาน้ าตาลอ่อน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่า
                       ความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-6.5 มีเนื้อดินชั้นล่างเป็นชั้นดินสลับของดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียว
                       ดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินทรายปนดินร่วน สีน้ าตาล มีจุดประสีเหลืองสีน้ าตาลและ สีเทา ภายใน

                       ความลึก 75 เซนติเมตร จากผิวดิน มักพบแร่ไมกาปะปนอยู่ด้วย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง
                       มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-7.0
                                  กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมทั้งการท านา ปลูกพืชไร่ และพืชผัก ถ้าได้มีการจัดช่วง

                       เวลาการปลูกพืชดังกล่าวให้เหมาะสมกับสภาพฝนและความชื้นของดิน  โดยหลีกเลี่ยงการปลูกพืชไร่
                       และพืชผัก ในช่วงเวลาที่น้ าท่วมขังพื้นที่  ปัญหาและข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ที่ดินกลุ่มนี้ค่อนข้างน้อย
                       เพียงแต่มีน้ าท่วมเป็นครั้งคราวในฤดูฝน และดินมีการระบายน้ าค่อนข้างเลว
                            2.4.10กลุ่มชุดดินที่ 25 มีเนื้อที่ 32,203 ไร่ หรือร้อยละ 1.14 ของเนื้อที่จังหวัด เป็นกลุ่มชุดดิน
                       ที่เป็นดินร่วนหรือดินเหนียวตื้นถึงชั้นลูกรัง สีเทา เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนน้ าพาหรือจาก

                       การสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณพื้นที่ลุ่มราบเรียบ
                       หรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน การระบายน้ าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ตาม
                       ธรรมชาติต่ า บางพื้นที่พบชั้นเชื่อมแข็งของเหล็ก หรือพบชั้นดินเหนียวภายในความลึก 100 เซนติเมตร

                       จากผิวดิน มีเนื้อดินชั้นบนเป็นพวกดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ าตาลปนเทา มีจุด
                       ประสีเหลืองหรือสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรด
                       เป็นด่างประมาณ 4.5-6.0  มีเนื้อดินชั้นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนลูกรังหรือ
                       ก้อนกรวดมาก ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน สีเทา มีจุดประสีเหลืองสีน้ าตาลหรือ

                       สีแดงมีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5  ดินล่าง
                       ชั้นถัดไปอาจพบชั้นดินเหนียว สีเทา มีจุดประสีเหลืองสีน้ าตาลและสีแดงของศิลาแลง
                                  กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมในการท านา ส าหรับการพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มศักยภาพ
                       ของดิน  ท าได้ล าบากและต้องลงทุนสูง  อย่างไรก็ตาม กลุ่มชุดดินนี้สามารถปรับปรุงเพื่อปลูกพืชที่มี

                       ระบบรากสั้นและทนแล้งภายหลังการปลูกข้าว หรืออาจเปลี่ยนสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็น
                       ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์หรือปลูกไม้โตเร็ว การใช้ประโยชน์ควรใช้ระบบไร่นาสวนผสม คือ มีการใช้ที่ดินในการ
                       ปลูกข้าว ไม้ผล ท าสวนผัก และเลี้ยงสัตว์ควบคู่กันไป ทั้งต้องพัฒนาแหล่งน้ าให้เพียงพอและเลี้ยงปลา
                       ในแหล่งน้ านั้นด้วย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28