Page 41 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
2) สมดุลน้ า
จากตัวเลขสถิติข้อมูลสภาพภูมิอากาศ เฉลี่ยในรอบ 13 ปี (พ.ศ. 2546-2558)
ของจังหวัดพะเยา (ตารางที่ 2-2) เมื่อน้าค่าปริมาณน้้าฝนเฉลี่ย ค่าศักย์การคายระเหยน้้า และ 0.5 ของค่า
ศักย์การคายระเหยน้้า มาวิเคราะห์สภาพสมดุลของน้้าเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 4) สรุปได้ดังนี้
1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช อยู่ในช่วงต้นเดือนเมษายนถึงต้นเดือน
พฤศจิกายน เป็นช่วงที่มีค่าปริมาณน้้าฝนสูงกว่า 0.5 ของค่าศักย์การคายระเหยน้้า ดินมีความชื้นพอเหมาะต่อ
การเพาะปลูก ดินอุ้มน้้าได้เต็มที่ ซึ่งแม้จะมีฝนตกน้อยแต่ในดินยังมีความชื้นสะสมอยู่มากพอที่พืชจะ
น้าไปใช้ประโยชน์ได้ จึงคาดคะเนได้ว่าในช่วงนี้เป็นช่วงที่เหมาะสมส้าหรับการปลูกพืชโดยอาศัยน้้าฝน
2) ช่วงระยะเวลาที่มีน้้ามากเกินพอ อยู่ในช่วงตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึง
กลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มีค่าปริมาณน้้าฝนสูงกว่าค่าศักย์การคายระเหยน้้า
3) ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือน
เมษายน เป็นช่วงขาดน้้า เนื่องจากปริมาณน้้าฝนและการกระจายของฝนน้อย มีค่าปริมาณน้้าฝนต่้ากว่า
0.5 ของค่าศักย์การคายระเหยน้้า ปริมาณน้้าฝนไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช การเพาะปลูกพืช
ควรระมัดระวัง และจ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาแหล่งน้้าส้ารองไว้ใช้ เช่น บ่อน้้าในไร่นา เป็นต้น
ภาพที่ 4 สมดุลน้้าเพื่อการเกษตร จังหวัดพะเยา
7.1.4 สภาพทางน้ าและแหล่งน้ า
สภาพทางน้้าเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา
รูปแบบของล้าธารเป็นรูปกิ่งไม้ (dendritic pattern) มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศ
ตะวันออก ประกอบด้วย ห้วยหลัก 14 ห้วย ดังนี้ (ภาพที่ 5)
1) ห้วยป่าแฝก ไหลลงอ่างเก็บน้้าแม่เย็นที่บ้านใหม่คือ ไหลรวมมาเป็นห้วยป่าแฝก ไปรวม
กับห้วยหนองสระที่บ้านดงบุญนาค และไหลลงหนองเล็งทราย
2) ห้วยเจริญราษฎร์ ไหลลงอ่างเก็บน้้าห้วยเฮี้ยที่บ้านห้วยเจริญราษฎร์ ไหลรวมมาเป็น
ห้วยเฮี้ย และไหลลงหนองเล็งทราย