Page 141 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      106







                                  จากข้อมูลทั้งหมดที่ได้ สามารถก้าหนดพื้นที่ด้าเนินการร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินพะเยา
                       โดยการคัดเลือกพื้นที่บางส่วนที่มีลักษณะเป็นตัวแทน หรือครอบคลุมสภาพปัญหาของโครงการเขต
                       พัฒนาที่ดิน เพื่อศึกษาพื้นที่อย่างละเอียด เพื่อใช้ในการวางแผนการใช้ที่ดินและวางระบบอนุรักษ์ดิน
                       และน้้าในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ต่อไป

                               8.2 สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ด าเนินการ บ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7

                       ต าบลแม่สุก อ าเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ต าบลบ้านใหม่ อ าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
                                  สภาพพื้นที่ของพื้นที่ด้าเนินการ บ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ต้าบลแม่สุก อ้าเภอแม่ใจ
                       และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ต้าบลบ้านใหม่ อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่
                       ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 398-444 เมตร

                                  ด้านสภาพการใช้ที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 2,618  ไร่ หรือร้อยละ
                       88.76 ของพื้นที่ด้าเนินการ  ประกอบด้วย นาข้าว มีเนื้อที่ 1,523 ไร่ หรือร้อยละ 51.64  ของพื้นที่
                       ด้าเนินการ ยางพารา มีเนื้อที่ 482 ไร่ หรือร้อยละ 16.34  ของพื้นที่ด้าเนินการ ไผ่ มีเนื้อที่ 220 ไร่ หรือ
                       ร้อยละ 7.46 ของพื้นที่ด้าเนินการ สัก มีเนื้อที่ 108 ไร่ หรือร้อยละ 3.66 ของพื้นที่ด้าเนินการ ลิ้นจี่ มีเนื้อที่

                       103 ไร่ หรือร้อยละ 3.49  ของพื้นที่ด้าเนินการ มันส้าปะหลังและล้าไย มีเนื้อที่ 43 ไร่ หรือร้อยละ 1.46
                       ของพื้นที่ด้าเนินการ ปาล์มน้้ามัน มีเนื้อที่ 34 ไร่ หรือร้อยละ 1.15 ของพื้นที่ด้าเนินการ ไม้ผลผสม มีเนื้อที่
                       25 ไร่ หรือร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ด้าเนินการ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีเนื้อที่ 13 ไร่ หรือร้อยละ 0.44 ของพื้นที่
                       ด้าเนินการ มะม่วง มีเนื้อที่ 8 ไร่ หรือร้อยละ 0.27 ของพื้นที่ด้าเนินการ ยางพารา/ล้าไย มีเนื้อที่ 7 ไร่ หรือ

                       ร้อยละ 0.24  ของพื้นที่ด้าเนินการ ยางพารา/มะม่วง และเงาะ มีเนื้อที่ 3 ไร่ หรือร้อยละ 0.10  ของพื้นที่
                       ด้าเนินการ ปาล์มน้้ามัน/ล้าไย มีเนื้อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของพื้นที่ด้าเนินการ และโรงเรือนเลี้ยงโค มี
                       เนื้อที่ 1 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ด้าเนินการ ซึ่งอยู่นอกเขตชลประทาน มีร่องแช่ฟาดไหลผ่านกลาง

                       พื้นที่และห้วยน้้าเหยี่ยนไหลผ่านทางทิศตะวันออกของพื้นที่ด้าเนินการ มีน้้าไหลเฉพาะในฤดูฝน ท้าให้
                       เกษตรกรในพื้นที่ด้าเนินการปลูกพืชโดยอาศัยน้้าฝนเท่านั้น
                                  ด้านความเหมาะสมของดิน พื้นที่ส่วนใหญ่ในพื้นที่ลุ่มเหมาะสมส้าหรับปลูกข้าว ในพื้นที่ดอน                                            106
                       เหมาะสมส้าหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส้าปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้้ามัน ล้าไย และลิ้นจี่ ส่วนปัญหา
                       ของทรัพยากรดินที่พบ คือ ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า

                                  จากข้อมูลทั้งหมดที่ได้ สามารถน้าไปต่อยอดเพื่อใช้ในการวางแผนการใช้ที่ดินและวางระบบ
                       อนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่ด้าเนินการ โดยบูรณาการร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินพะเยา และหน่วยงานที่
                       เกี่ยวข้องต่อไป
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146