Page 136 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 136

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      103







                                 2) ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                     (1) สภาพพื้นที่ด้าเนินการเป็นพื้นที่ราบและขาดความอุดมสมบูรณ์ ที่มีสภาพการใช้ที่ดิน

                       ส่วนใหญ่ในการท้านา ดังนั้น ควรประเมินศักยภาพของพื้นที่โดยการวิเคราะห์ดินเบื้องต้นเพื่อเลือกวิธีการ
                       ปรับปรุงบ้ารุงดินที่เหมาะสม เช่น การใช้ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินและการปลูก
                       พืชปุ๋ยสด เพื่อลดต้นทุนการผลิตด้านการปรับปรุงบ้ารุงดินและฟื้นฟูสภาพดินให้เหมาะสมกับการ

                       เจริญเติบโตของพืชในระยะยาว และควรใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าด้วยวิธีการปรับรูปแปลงในเขต
                       หมู่บ้านพัฒนาที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553) เพื่อให้น้ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้อย่างมี
                       ประสิทธิภาพ แบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้
                                        - การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เน้นให้มีการปลูกข้าวแบบเดิม แต่ก้าหนดให้มี

                       การปรับโครงสร้างให้มีคันดินเพิ่มขึ้น โดยการลบคันนาเดิมซึ่งมีขนาดเล็กและเป็นผืนนาแปลงเล็ก
                       แปลงน้อย แล้วสร้างคันนาขึ้นมาใหม่ โดยมีขนาดกว้างและสูงกว่าเดิม เป็นคันดินที่สร้างขึ้นโดยให้
                       ระดับของดินอยู่ในระดับเดียวกัน วัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน้้าที่ไหลบ่ามาไว้เป็นช่วงๆ มีลักษณะ
                       เหมือนคันนา บนคันนาสามารถปลูกพืชชนิดต่างๆ ควรจัดการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 บริเวณ

                       ด้านทิศตะวันออกของพื้นที่ด้าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Ph-spd-clA/d ,E
                                                                                     5 0
                                        -  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2 เน้นให้มีการปลูกข้าวร่วมกับไม้ผลชนิดอื่นๆ
                       ท้าการปรับโครงสร้างแปลงนาให้มีร่องน้้า โดยการขุดดินท้าเป็นคูแล้วเอาดินนั้นขึ้นมาทับถมเป็นคันดิน
                       ร่องน้้าที่ขุดมีวัตถุประสงค์ เพื่อเก็บกักน้้า ระบายน้้า และส่งน้้าในแปลงปลูกพืช ส่วนบนคันดินยัง

                       สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดต่างๆ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร ควรจัดการปรับรูปแปลงนา
                       ลักษณะที่ 2 บริเวณตอนกลางของพื้นที่ด้าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน AC-pd,fl-clA/d ,E  และ
                                                                                                  5 0
                       AC-spd,fl-clA/d ,E
                                     5 0
                                        -  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3  เป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                       จากการท้านาเป็นการปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ท้าโดยการขุดดินขึ้นให้เป็นคูน้้าทั้งสองด้านแล้วน้าดิน
                       นั้นมาถมเป็นคันดิน วัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน้้าและระบายน้้าในพื้นที่ราบและราบลุ่ม บนคันดิน                                                  103
                       สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรจัดการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 เมื่อเกิดปัญหาราคาผลผลิตข้าว
                       ตกต่้า จะต้องมีพืชทางเลือกโดยเฉพาะไม้ผลและไม้ยืนต้นให้เกษตรกรได้ปลูกตามความเหมาะสมของดิน

                       ซึ่งสามารถน้ามาทดแทนหรือเสริมรายได้ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Sp-gm,fl-slA/d ,E ,b
                                                                                         5 0
                                     (2) ควรมีการติดตามประเมินผล การพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด้าเนินการในด้านต่างๆ
                       เช่น การอนุรักษ์ดินและน้้า การปรับปรุงบ้ารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อให้ทราบถึง

                       ปัญหาอุปสรรค และก้าหนดแนวทางแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
                                     (3) การขยายผลการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด้าเนินการซึ่งเป็นพื้นที่ตัวแทนสภาพปัญหา
                       ของเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา มีการจ้ากัดบริเวณ
                       ไว้เพียงส่วนหนึ่ง เพื่อให้การพัฒนาที่ดินมีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรมและเกิดความยั่งยืน ควรมีการ

                       ขยายผลโดยก้าหนดพื้นที่ด้าเนินการเพิ่มเติมภายในบริเวณเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2
                       (หนองเล็งทราย) เพื่อให้งานพัฒนาที่ดินครอบคลุมทุกสภาพปัญหาในพื้นที่ลุ่มน้้า
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141