Page 168 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 168

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    132




                                 ดินท่าแซะที่มีจุดประสีเทา พบ 1 ประเภท คือ หน่วยแผนที่ Te-gm-slA/d 5,E 1:  ดินท่าแซะที่มี

                   จุดประสีเทา มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก กร่อนเล็กน้อย มีเนื้อ
                   ที่ 375 ไร่ หรือร้อยละ 6.94 ของพื้นที่ด าเนินการ โดยแสดงแทนด้วยสัญลักษณ์ Te-gm ในแผนที่ดิน


                                    12) ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน  (Slope complex)
                                     เป็นพื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 23 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของ
                  พื้นที่ด าเนินการ พื้นที่บริเวณนี้ไม่มีการศึกษาส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ไม่
                  ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร

                                    13) หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (Miscellaneous areas)
                                    หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ที่พบแบ่งออกเป็น 2 หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่รวม 312 ไร่ หรือร้อยละ
                   5.77 ของพื้นที่ด าเนินการ ได้แก่
                                      หน่วยแผนที่ U:  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ หมู่บ้าน โรงงาน สถานที่

                   ราชการและถนน มีเนื้อที่รวม 121 ไร่  หรือร้อยละ 2.24 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                      หน่วยแผนที่ W: แหล่งน้ า ได้แก่ ล าคลอง คลองชลประทาน อ่างเก็บน้ า และบ่อ
                   น้ าในไร่นา มีเนื้อที่ 191 ไร่ หรือร้อยละ 3.53 ของพื้นที่ด าเนินการ


                                 7.3.7 ความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ
                                 จากการศึกษาข้อมูลลักษณะดินดังกล่าวมาแล้ว ได้ด าเนินการประเมินความเหมาะสม
                   ของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตามวิธีการประเมินของกองส ารวจและจ าแนกดิน (2543) โดยเลือก

                   จัดชั้นความเหมาะสมตามชนิดพืชที่มีการปลูกในพื้นที่ ได้แก่ มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ ามัน
                   ทุเรียน เงาะ มังคุด ขนุน ลางสาด ลองกอง และมีการเพิ่มพืชทางเลือก ได้แก่ ข้าว อ้อย ข้าวโพด ยูคาลิปตัส
                   มะพร้าว และหญ้าเลี้ยงสัตว์ ส าหรับเป็นแนวทางการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเนื่องจากมองเห็นถึงศักยภาพ

                   การผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานของพื้นที่ เพื่อรองรับการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว
                   ของจังหวัด โดยท าการประเมินเฉพาะข้อมูลดิน ไม่ได้พิจารณาในส่วนของพื้นที่ความลาดชันเชิงซ้อน ที่อยู่
                   อาศัย และแหล่งน้ า เนื่องจากไม่มีศักยภาพในการเพาะปลูก
                                 สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล และ
                   หญ้าเลี้ยงสัตว์ ดังแสดงตารางที่ 19 สามารถสรุปชั้นความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                   ได้ดังนี้ (ตารางที่ 20 และภาพที่ 22)
                                   1) ดินมีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกอ้อย ข้าวโพด มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา
                   ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส ทุเรียน เงาะ มังคุด ขนุน ลองกอง ลางสาด มะพร้าว และหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัด

                   เล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ในหน่วยแผนที่ดิน ที่ดิน Km-slB/d 5,E 1 Ro-fl-slA/d 5,E 1 Ro-gm-clA/d 5,E 0
                   และ Te-gm-slA/d5,E1 มีเนื้อที่ 1,650 ไร่ หรือร้อยละ 30.55 ของพื้นที่
                                   2) ดินมีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกอ้อย ข้าวโพด มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา
                   ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส ขนุน มะพร้าว และหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของ

                   ดินต่ า เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง และลางสาด มีข้อจ ากัดปานกลางเรื่อง
                   มีชั้นอนุภาคดินเป็นดินร่วนหยาบ ในหน่วยแผนที่ดิน Kh-gm-slA/d 5,E 1 มีเนื้อที่ 1,011 ไร่ หรือร้อยละ 18.72
                   ของพื้นที่
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173