Page 166 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 166

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    130





                                               10) ดินรือเสาะที่มีจุดประสีเทา (Ruso gray mottle variant:
                                               Ro-fl)
                                               การจ าแนกดิน: Fine-silty, mixed, semiactive, isohyperthermic
                                               Aquic Paleudults
                                               การก าเนิด: เกิดจากตะกอนน้ าพามาทับถมบริเวณตะพักล าน้ า

                                               สภาพพื นที่: พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2
                                               เปอร์เซ็นต์
                                               การระบายน  า: ดีปานกลาง
                                               การไหลบ่าของน  าบนผิวดิน: ช้า

                                               การซึมผ่านได้ของน  า: ช้า
                                               การใช้ประโยชน์ที่ดิน: ปลูกยางพารา ปาล์มน้ ามัน และไม้ผลผสม
                                               การจัดเรียงชั น: Ap-BA-Bt
                                               ลักษณะและสมบัติดิน: เป็นดินลึกมาก ดินบนหนา 25-30 เซนติเมตร

                                               ดินบนเป็นดินร่วนปนเหนียว สีน้ าตาล สีน้ าตาลปนเทา มีจุดประ
                                               สีน้ าตาลเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด มีค่าความเป็น
                                               กรดเป็นด่างประมาณ 5.0-5.5 ดินล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วน

                                               เหนียวปนทรายแป้ง บางบริเวณพบเป็นดินเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ าตาล
                                               สีน้ าตาลปนเหลือง มีจุดประสีเทา พื้นส ารวจส่วนใหญ่เริ่มพบจุดประสีเทา
                                               ที่ 40 เซนติเมตรจากผิวดินลงไปตลอดหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                                               จัดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.0
                                               ข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์: ความอุดมสมบูรณ์ต่ า





                   การประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                     ความลึก      OM        Avai. P     Avai. K     CEC ***      BS ***   ความอุดมสมบูรณ์
                                                                           -1
                                                       -1
                      (ซม.)       (%)           (mg kg )          (cmolc  kg )    (%)         ของดิน
                      0-25       0.84        20.59       50.6        10.62        8.32          ต่ า
                                  (ต่ า)   (ปานกลาง)     (ต่ า)    (ปานกลาง)      (ต่ า)

                      25-50      0.33        24.09       55.7        9.80         7.00          ต่ า
                                  (ต่ า)   (ปานกลาง)     (ต่ า)       (ต่ า)      (ต่ า)
                     50-100      0.28        24.34       55.8        9.76         5.80          ต่ า
                                  (ต่ า)   (ปานกลาง)     (ต่ า)       (ต่ า)      (ต่ า)



                   จุดเก็บตัวอย่างดิน: พิกัด 779602 E และ 1432265 N
                   *** ค่าจากรายงานการส ารวจดินจังหวัดจันทบุรี (2523)
                                 ดินรือเสาะที่มีจุดประสีเทา พบ 1 หน่วยแผ่นที่ คือ หน่วยแผนที่ Ro-gm-clA/d 5,E 0: ดินรือเสาะที่มี

                   จุดประสีเทา มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนเหนียว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่
                   216 ไร่ หรือร้อยละ 4.01 ของพื้นที่ด าเนินการ โดยแสดงแทนด้วยสัญลักษณ์ Ro-gm ในแผนที่ดิน
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171