Page 142 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 142

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       110




                            7.3.6 ทรัพยากรดินและการจ าแนกดิน

                                 ผลการส ารวจดินอย่างละเอียดในบริเวณพื้นที่ด าเนินการ สามารถจ าแนกได้ 19 หน่วย
                   แผนที่ (ตารางที่ 17 18 และภาพที่ 21) ประกอบด้วย
                                   1) หน่วยจ าแนก มี 7 ชุดดิน จ านวน 12 หน่วยแผนที่ มี 3 ดินคล้าย จ านวน 4 หน่วยแผนที่
                                   2) หน่วยไม่จ าแนก มี 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC)

                                    3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด 2 หน่วยแผนที่ ได้แก่ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) และพื้นที่น้ า (W)
                                 ประเมินความอุดมสมบูรณ์ดิน โดยใช้
                                   - ค่าวิเคราะห์ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ค่าความเป็นประโยชน์ของธาตุฟอสฟอรัส
                   (Avai. P) ค่าความเป็นประโยชน์ของธาตุโพแทสเซียม (Avai. K) จากหลุมดินในพื้นที่โดยกลุ่มวิเคราะห์ดิน

                   ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 2
                                   - ค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) และอัตราร้อยละความอิ่มตัวเบส (%BS)
                   จากรายงานการส ารวจดินจังหวัดระยอง (2528) รายงานการส ารวจดินจังหวัดจันทบุรี (2523) และรายงาน
                   การก าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคใต้และชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย



                                                1) ชุดดินชุมพร (Chumphon series: Cp)
                                                การจ าแนกดิน: Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic

                                                 Typic Paleudults
                                                การก าเนิด: เกิดจาการผุผังสลายตัวของหินดินดาน และเคลื่อนย้าย
                                                 มาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลก

                                                 สภาพพื นที่: พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                                                มีความลาดชัน 3-5 เปอร์เซ็นต์
                                                การระบายน  า: ดี
                                                การไหลบ่าของน  าบนผิวดิน: ปานกลางถึงเร็ว
                                                การซึมผ่านได้ของน  า: ปานกลาง

                                                การใช้ประโยชน์ที่ดิน: ยางพารา
                                                การจัดเรียงชั น: Ap-Btc
                                                ลักษณะและสมบัติดิน: เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ดินบนหนาประมาณ

                                                10-20 เซนติเมตร เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย มีสีน้ าตาล ปฏิกิริยา
                                                ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                                                ประมาณ 5.0-6.5 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวถึงดิน
                                                เหนียวปนลูกรังปริมาณมาก ส่วนใหญ่พบชั้นลูกรังที่ 30-40

                                                เซนติเมตรจากผิวดิน มีสีน้ าตาล สีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็น
                                                กรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ
                                                4.5-6.0
                                                ข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์: ดินตื้น เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช

                                                และความอุดมสมบูรณ์ต่ า
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147