Page 137 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 137

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      106



                                 7.3.3 สภาพทางน  าและแหล่งน  า

                                 พื้นที่ด าเนินการ มีแหล่งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ คือ แม่น้ าประแสร์พบบริเวณฝั่งตะวันตก
                   แนวขอบเขตของพื้นที่ด าเนินการ คลองไผ่เหนือพบกลางของพื้นที่ด าเนินการทิศทางไหลจากเหนือไปใต้
                   แต่มีปริมาณน้ าแห้งในฤดูแล้ง ล าคลองมีความตื้นเขิน บางช่วงเส้นทางน้ าไม่ชัดเจน ล าน้ าสาขาของ
                   คลองหวายพบฝั่งตะวันออกของพื้นที่มีทิศทางไหลจากเหนือไปใต้แต่มีปริมาณน้ าแห้งในฤดูแล้งเช่นกัน

                   พื้นที่ด าเนินการมีคลองส่งน้ าชลประทานโดยส่งน้ าจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ไปยังพื้นที่ท้ายเขื่อน ไหลเข้า
                   สู่พื้นที่ด าเนินการทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ โดยมีทิศทางการวางตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ
                   พื้นที่ด าเนินการ เป็นแหล่งน้ าทางการเกษตรที่ส าคัญในช่วงฤดูแล้ง มีน้ าตลอดปีแต่ปริมาณขึ้นอยู่กับการ
                   ควบคุมระดับน้ าจากชลประทานในแต่ละปี และพบบ่อน้ าในไร่นากระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ (ภาพที่ 17)


                                 7.3.4 ลักษณะความสัมพันธ์ทางธรณีวิทยา ภูมิสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิด
                                 จากการใช้ลักษณะทางธรณีวิทยาคาดคะเนชนิดของวัตถุต้นก าเนิดดิน สามารถแบ่งลักษณะ

                   พื้นที่ด าเนินการตามลักษณะภูมิสัณฐานและให้ความสัมพันธ์ทางธรณีวิทยา ดังนี้
                                   1)  ตะพักล าน้ า (terrace) พบในหน่วยทางธรณีแบบ Qa เป็นพื้นที่ที่ได้รับอิทธิพลของ
                   แม่น้ าประแสร์ มีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ า (alluvial) สภาพพื้นที่เป็นที่ราบถึงค่อนข้างราบเรียบ เป็น
                   ขั้นข้างตลิ่งแม่น้ าประแสร์ เกิดจากทางน้ าที่น าตกตะกอนมาทับถมกลายเป็นที่ราบ โดยพบเป็นตะพักล าน้ า

                   ระดับต่ าถึงระดับปานกลาง
                                   2)  พื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ที่มีขบวนการปรับพื้นที่ (erosional and
                   denudational surface) พบในหน่วยทางธรณีแบบ Qt วัตถุต้นก าเนิดดินเกิดจากการสลายตัวผุพัง และ

                   ถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนัก พบเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่บริเวณตอนกลางถึงทางด้านทิศตะวันออก
                   ของพื้นที่ด าเนินการ พบตะกอนของหินทราย
                                    3)  พื้นที่ราบเรียบถึงเนินเขา ที่มีการเกลี่ยผิวแผ่นดิน (denudational surface)  บางพื้นที่
                   มีความลาดชันสูงมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พบในหน่วยทางธรณีวิทยาแบบ CP ซึ่งอยู่ในกลุ่มหินราชบุรี รองรับ
                   ด้วยหินดินดานที่พื้นดันตัวใกล้ผิวดินระหว่างตะกอน Qt


                                 7.3.5 สภาพการใช้ที่ดิน
                                 พื้นที่ดำเนินการส่วนใหญ่ในพื้นที่เกษตรกรรม ผลการส ารวจสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่

                   ด าเนินการ (ตารางที่ 16 และภาพที่ 20) สามารถสรุปได้ ดังนี้
                                    1) พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 5,040 ไร่ หรือร้อยละ 93.35 ของพื้นที่ด าเนินการ
                   ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย

                                     - พืชไร่ (A2) มีเนื้อที่ ไร่ 59 หรือร้อยละ 1.09 ของพื้นที่ด าเนินการ พืชไร่ ที่พบ
                   ได้แก่ มันส าปะหลัง สับปะรด พบทั้งการปลูกแปลงเดี่ยวและการปลูกร่วมกับปาล์มน้ ามัน นอกจากนี้ยังพบ
                   การปลูกร่วมในไม้ยืนต้นและไม้ผลผสมอีกด้วย
                                     - ไม้ยืนต้น (A3) มีเนื้อที่ ไร่ 4,641 หรือร้อยละ 85.95 ของพื้นที่ด าเนินการ ไม้ยืนต้น

                   ที่พบ ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ส าหรับการปลูกยางพารานอกจากการปลูกเป็นแปลงเดี่ยว ยังพบการ
                   ปลูกรวมกับไม้ผล ไม้ผลผสม พริกไทย และพบการปลูกแซมด้วยมันส าปะหลัง สับปะรด เมื่อยางพารายังมี
                   อายุน้อย
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142