Page 130 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 130

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       99



                                   แนวทางแก้ไข

                                   ส าหรับการปลูกข้าว
                                     ควรมีการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อเพิ่มความสามารถในการกักเก็บน้ า ดูดซับและเพิ่ม
                   ธาตุอาหารให้กับดินโดยการไถกลบตอซัง ใช้น้ าหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด โดยใช้ร่วมกับ
                   ปุ๋ยเคมี

                                   ส าหรับการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น หรือไม้ผล
                                     สภาพพื้นที่ไม่เหมาะส าหรับการปลูกพืชดังกล่าว เนื่องจากเป็นพื้นที่ลุ่มมีน้ าท่วม
                   ขังในฤดูฝน พื้นที่เป็นทรายยากต่อการยกร่อง กรณีปลูกพืชไร่ พืชผัก ช่วงก่อนหรือหลังปลูกข้าว สามารถ
                   ปลูกได้โดยยกร่องแบบเตี้ยหรือท าร่องระบายน้ าระหว่างแปลง

                                   4) ดินตื น มีชั้นของกรวด ลูกรัง เศษหิน หรือชั้นหินพื้น มีเนื้อที่รวม 62,639 ไร่ หรือ
                   ร้อยละ 38.30 ของพื้นที่ โดยแบ่งเป็น
                                     (4.1) ดินตื้นถึงชั้นก้อนกรวด ลูกรังหรือเศษหินในพื้นที่ดอน ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน
                   45 45B 45C 45D และ 49B มีเนื้อที่ 61,671 ไร่ หรือร้อยละ 37.71 ของพื้นที่

                                     (4.2) ดินตื้นถึงชั้นหินพื้นในพื้นที่ดอน ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน 51C และ 51D มีเนื้อที่
                   968 ไร่ หรือร้อยละ 0.59 ของพื้นที่
                                   แนวทางแก้ไข

                                   หากมีการใช้ที่ดินอย่างไม่มีการอนุรักษ์จะเร่งให้เกิดการสูญเสียหน้าดินและการชะล้าง
                   พังทะลายของดิน เกิดเป็นดินตื้นมากขึ้นมีเศษหิน ก้อนกรวดหรือหินพื้นโผล่
                                   พื้นที่ที่หน้าดินมีก้อนกรวด ลูกรังหรือเศษหิน ปริมาณมาก หรือหินโผล่มาก พื้นที่มี
                   ความสูงชัน หรือพื้นที่ป่า ไม่ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ควรปล่อยไว้เป็นพื้นที่ป่า ส าหรับพื้นที่
                   ทิ้งร้าง ควรปลูกไม้ใช้สอยโตเร็วที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจหรือฟื้นสภาพป่า

                                   ส าหรับการปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก ควรเลือกพื้นที่มีหน้าดินหนามากกว่า 25
                   เซนติเมตร ในสภาพพื้นที่ราบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนพืชที่ปลูกควรมีระบบรากตื้นและทนแล้ง
                                   ส าหรับการปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น ต้องมีการเตรียมหลุมปลูกที่ดี อาจกระท าโดยใช้

                   เครื่องจักรกลขุด ให้มีขนาด 50x50x50 เซนติเมตร เป็นอย่างน้อย หรือตื้นกว่าเท่าแนวหินพื้นที่ขุดลงได้
                   หากตื้นกว่า 30 เซนติเมตร ควรเปลี่ยนพื้นที่หลุมปลูก ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีกรวดลูกรัง เศษ
                   หินกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก และใช้น้ าหมักชีวภาพ พด.2 ร่วมกับปุ๋ยเคมี ในพื้นที่ดินตื้นถึงหินพื้นควรมีไม้ค้ า
                   ยันเมื่อไม้ผลมีขนาดใหญ่ขึ้น และเอาหน้าดินบริเวณใกล้เคียงผสมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักพูนโคนอยู่เป็น

                   ประจ า
                                   มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ตามความเหมาะสมของพื้นที่ เช่น ปลูกพืชตามแนวระดับ
                   ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกแนวหญ้าแฝก ท าคูรับน้ าขอบเขา ทางระบายน้ า บ่อดักตะกอน เป็นต้น และควร
                   พัฒนาแหล่งน้ าและระบบการให้น้ า

                                   5) มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื้อที่รวม 71,924 ไร่ หรือร้อยละ 43.97 ของพื้นที่ โดย
                   แบ่งเป็น
                                     (5.1) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน 6 และ 17  มีเนื้อที่
                   13,188 ไร่ หรือร้อยละ 8.06 ของพื้นที่
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135