Page 126 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 126

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       96



                                   (3)  ดินไม่เหมาะสมส าหรับการใช้ยานพาหนะในช่วงฤดูฝน มีข้อจ ากัดรุนแรงเรื่อง

                   การระบายน้ าของดิน และความลาดชันของพื้นที่ ในหน่วยแผนที่ดิน 6 7 11 13 14 45D และ 51D มีเนื้อ
                   ที่ 22,335 ไร่ หรือร้อยละ 13.63 ของพื้นที่


                                 7.2.11 ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางแก้ไข
                                 จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลอง
                   หวาย-คลองโพล้  สามารถสรุปปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่ (ตารางที่ 14 และภาพที่ 16) โดยพบปัญหา
                   ทรัพยากรดินครอบคลุมปัญหาส่วนใหญ่ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าประแสร์ แม้จะมีความไม่ตรงกันในกลุ่ม

                   ชุดดิน ทั้งนี้เนื่องด้วยมาตราส่วนการส ารวจดินที่แตกต่างกันดังที่กล่าวมาแล้ว  โดยเรียงจากปัญหาที่มี
                   ข้อจ ากัดมากไปน้อยแยกตามสภาพพื้นที่และคุณสมบัติของดินพร้อมแนวทางแก้ไข (ส านักส ารวจดินและ
                   วางแผนการใช้ที่ดิน, 2550 และ กรมพัฒนาที่ดิน, 2556ข) ไว้ดังนี้
                                   1) ดินเปรี ยว ในที่นี้พบดินเปรี้ยวจัดที่ระดับความลึกปานกลาง ในช่วงความลึก 50-100

                   เซนติเมตรจากผิวดิน พบเป็นดินเปรี้ยวในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน 11 และ 14 มีเนื้อที่ 9,260 ไร่
                   หรือร้อยละ 5.65 ของพื้นที่ ดินในกลุ่มนี้เหมาะส าหรับท านามากกว่าปลูกพืชอื่น สภาพพื้นที่โดยทั่วไปไม่
                   เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น หรือไม้ผลเนื่องจากมีข้อจ ากัดที่รุนแรงจากการมีน้ าแช่ขังนานใน
                   ฤดูฝน และความเป็นกรดของดิน

                                   แนวทางแก้ไข
                                   ส าหรับการปลูกข้าว
                                     ท าการล้างกรดออกจากดิน โดยขังน้ าก่อนเตรียมดินปลูกข้าว แล้วระบายน้ าออก

                   ปรับค่าความเป็นกรด โดยหว่านวัสดุปูนปริมาณตามระดับความเปรี้ยวจัดหรือความเป็นกรดของดิน แล้ว
                   ไถคลุกเคล้ากับดิน หมักไว้ในสภาพดินชื้นหรือขังน้ า ประมาณ 7 วัน ก่อนเตรียมดินปลูกข้าวหรือปลูกพืช
                   ปุ๋ยสด การใส่ปูน 1 ครั้ง มีผลนานถึง 5
                                     ใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก อัตราที่เหมาะสม ดินเปรี้ยวจัดมีปัญหาขาดแคลน
                   ธาตุอาหารไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ดังนั้นจ าเป็นต้องเพิ่มธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสให้เพียงพอ

                   ร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพ พด.2 ฉีดพ่นหรือใส่พร้อมการปล่อยน้ าเข้านา เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของราก
                   ล าต้น และการแตกกอของข้าว พร้อมควบคุมระดับน้ าในนาข้าว ให้มีน้ าขัง 5-10 เซนติเมตร ตลอดฤดูกาล
                   ปลูก และระบายน้ าออกในช่วงก่อนเก็บเกี่ยวข้าวประมาณ 20 วัน ไม่ปล่อยให้ดินแห้งจนแตกระแหงเพื่อ

                   ป้องกันเกิดกรดเพิ่มขึ้น
                                    ส าหรับการผลิตพืชไร่ ไม้ยืนต้น และไม้ผล
                                      สภาพพื้นที่โดยทั่วไปไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น หรือไม้ผล
                   เนื่องจากมีข้อจ ากัดที่รุนแรงจากการมีน้ าแช่ขังนานในฤดูฝน และความเป็นกรดของดิน

                                     หากประสงค์จะปลูกต้องจัดการปรับสภาพพื้นที่โดยการยกร่อง เพื่อป้องกันน้ า
                   ท่วม  ปรับปรุงแก้ความเป็นกรดด้วยวัสดุปูนหว่านทั่วหลังร่อง หรือปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก อัตราขึ้นกับ
                   ความรุนแรงของกรดในดิน พร้อมควบคุมระดับน้ าในร่องไม่ให้แห้ง และดูแลการให้น้ าอย่างสม่ าเสมอ
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131