Page 94 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
P. 94

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                                ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  77



                        10.2  ค�าอธิบายนามศัพท์

                           ความลึกของดิน (soil depth) ในทำงกำรเกษตรได้แบ่งควำมลึกของดินออกเป็น 5 ชั้นโดยยึดเอำ
                  ควำมลึกที่วัดจำกผิวดินถึงชั้นที่ขัดขวำงกำรเจริญเติบโตหรือกำรชอนใช้ของรำกพืช ได้แก่ ชั้นหินพื้น ชั้นดำนแข็ง

                  ชั้นศิลำแลง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นลูกรังที่หนำแน่นมำก

                               -  ดินตื้นมำก พบชั้นขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืชภำยในควำมลึก 25 เซนติเมตร

                                 จำกผิวดิน

                             -  ดินตื้น พบชั้นขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืชภำยในควำมลึก 25–50 เซนติเมตร
                                 จำกผิวดิน


                             -  ดินลึกปำนกลำง พบชั้นขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืชภำยในควำมลึก 50–100 เซนติเมตร
                               จำกผิวดิน

                               -  ดินลึก พบชั้นขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืชภำยในควำมลึก 100–150 เซนติเมตร

                                 จำกผิวดิน

                               -  ดินลึกมำก พบชั้นขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืชภำยในควำมลึก >150 เซนติเมตร
                                 จำกผิวดิน


                           จาโรไซต์ (jarosite) เป็นสำรประกอบของโพแทสเซียม เหล็กซัลเฟต ซึ่งมีสูตรทำงเคมี
                  KFe (SO4) (OH)  มีสีเหลืองคล้ำยฟำงข้ำวเกิดจำกกำรเติมออกซิเจนในดินที่มี สำรประกอบไพไรต์ (Pyrite:FeS )
                      3    2    6                                                                          2
                           จุดประ (mottle) เป็นจุดสีประของดินที่เกิดขึ้นกระจำยอยู่ในชั้นหน้ำตัดดิน พบในดินที่มีสภำพกำร

                  ระบำย น�้ำเลวค่อนข้ำงเลว หรือดีปำนกลำง มีกำรแช่ขังของน�้ำในชั้นดินเป็นบำงช่วงในรอบปี ท�ำให้มีกำร
                  ออกซิเดชันและรีดักชันของสำรพวกเหล็กเกิดเป็นจุดประแทรกอยู่ในสีพื้นของดิน

                           ชั้นดานอินทรีย์ (spodic horizon) เป็นชั้นที่มีกำรสะสมของอินทรียวัตถุที่ถูกชะล้ำงมำจำกชั้นดิน

                  ด้ำนบน

                           ดินเค็ม (saline soil) เป็นดินที่ทีปริมำณเกลือที่ละลำยอยู่ในสำรละลำยดินมำกเกินไปจนมีผลกระ

                  ทบต่อกำรเจริญเติบโตและกำรให้ผลผลิตของพืช มักมีค่ำกำรน�ำไฟฟ้ำของสำรละลำยดินที่สกัดจำกดินที่อิ่มตัวด้วน
                  น�้ำสูงเกินกว่ำ 2 เดซิซีเมนต์ต่อเมตร

                           ดินตื้น (shallow soil) เป็นดินที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน ปูนมำร์ล หนำแน่นมำก หรือพบชั้น

                  หินพื้นอยู่ตื้นกว่ำ 50 เซนติเมตรจำกผิวดิน เป็นอุปสรรคต่อกำรชอนไชของรำกพืช ดินดูดซับน�้ำและดูดธำตุอำหำร

                  ได้น้อยส่งผลต่อกำรเจริญเติบโตและกำรให้ผลผลิตของพืช

                           ดินทรายจัด (sandy soil) เป็นดินที่เนื้อดินตอนบนเป็นดินทรำยหรือดินทรำยปนดินร่วนหนำอย่ำง
                  น้อย 50 เซนติเมตร จำกผิวดินเม็ดดินไม่เกำะตัวกันกำรระบำยน�้ำค่อนข้ำงมำกเกินไป ดินอุ้มน�้ำได้น้อยมีกำรดูด

                  ยึดธำตุอำหำรต�่ำ ควำมอุดมสมบูรณ์ต�่ำมำก พืชเสี่ยงต่อกำรขำดน�้ำ ถ้ำหำกฝนทิ้งช่วงเม็ดทรำยมัดอัดตัวแน่นทึบ
                  ใต้ชั้นไภพรวน หน้ำดินเกิดกำรชะล้ำงพังทลำยง่ำย
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98