Page 90 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           74





                        4.1.3  สมดุลของน้้าเพื่อการเกษตร

                              สมดุลของน้้าเพื่อการเกษตรเป็นการวิเคราะห์ปริมาณน้้าในชํวงฤดูกาลเพาะปลูกพืช

                  ตลอดจนระยะชํวงเวลาที่เสี่ยงตํอการขาดน้้า ข๎อมูลที่ใช๎ในการวิเคราะห์ คือ ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรายเดือน
                  ตั้งแตํปี 2527-2556 ณ สถานีตรวจวัดอากาศ จังหวัดสระแก๎ว ของกรมอุตุนิยมวิทยา และศักยภาพการ

                  คายระเหยน้้า (Potential  evatranspiration) หรือคําความต๎องการน้้าของพืชอ๎างอิง (Reference  crop
                  evatranspiration, ETo) ซึ่งค้านวณด๎วยวิธี Penman Monteith (กรมชลประทาน, 2557) โดยใช๎โปรแกรม

                  Cropwat Version 8.0 (ตารางที่ 8 ถึง 9 และ ภาพที่ 1 1 ) จากการวิเคราะห์สามารถสรุปได๎ดังนี้
                              1) ชํวงระยะเวลาที่มีความชื้นพอเหมาะตํอการปลูกพืชเป็นชํวงฤดูฝนปกติ โดยเป็น

                  ชํวงที่ฝนเริ่มตกชุกจนกระทั่งใกล๎จะหมดฤดูฝนซึ่งมีความชื้นพอเหมาะตํอการปลูกพืช ชํวงเวลานี้อยูํ

                  ในชํวงกลางเดือนมีนาคมถึงต๎นเดือนพฤศจิกายน                                                                                                    74
                              2) ชํวงระยะเวลาที่มีน้้ามากพอเป็นชํวงฝนตกชุกมีความชื้นของอากาศสูง และท้าให๎

                  ความชื้นในดินสูงตามไปด๎วยและอาจมากเกินความต๎องการของพืช ชํวงระยะเวลานี้อยูํในชํวง
                  กลางเดือนเมษายนถึงกลางเดือนตุลาคม

                              3)   ชํวงระยะเวลาที่ไมํสามารถปลูกพืชโดยอาศัยน้้าฝนได๎จัดเป็นชํวงขาดน้้า ดินมีความชื้น

                  น๎อย อาจไมํเพียงพอตํอความต๎องการของพืช จัดเป็นชํวงฤดูแล๎งอยูํระหวํางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์
                  ซึ่งถ๎าต๎องการปลูกพืชชํวงนี้ต๎องจัดหาแหลํงน้้าส้ารอง เชํน แหลํงน้้าขนาดเล็กประเภทตํางๆ เป็นต๎น

                  ตารางที่ 8 ปริมาณน้้าฝน ศักยภาพการคายระเหยน้้า และปริมาณฝนใช้การได้ ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                           คลองพระสทึง (ปี 2527-2556)

                   เดือน    ปริมาณน้้าฝน (มม.)*   ศักยภาพการคายระเหยน้้า (มม.) **   ปริมาณฝนใช้การได้ (มม.)**
                   ม.ค.           9.7                       104.5                          9.5
                   ก.พ.           31.9                      108.9                         30.3
                   มี.ค.          53.1                      128.3                         48.6
                   เม.ย.         102.4                      135.6                         85.6
                   พ.ค.          173.7                      125.6                         125.4
                    มิ.ย.        173.2                      117.3                         125.2

                    ก.ค.         212.1                      111.0                         140.1
                   ส.ค.          224.3                      110.1                         143.8
                    ก.ย.         291.5                      103.8                         154.2
                   ต.ค.          157.8                      106.6                         118.0
                   พ.ย.           24.6                      106.8                         23.6
                    ธ.ค.          4.4                       104.5                          4.4
                    รวม         1,458.7                     1,363                       1,008.7

                  หมายเหตุ :   *  กรมอุตุนิยมวิทยา (2557)
                            **  เป็นข๎อมูลที่ได๎จากการค้านวณ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95