Page 141 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           122





                        4.4.5 ล้าไย ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ เป็นที่ต๎องการของตลาดเนื่องจากผลผลิตมีคุณภาพดี

                  ให๎ผลผลิตและผลตอบแทนคํอนข๎างสูง มีชั้นความเหมาะสมของที่ดินดังนี้ (ภาพที่ 23 )

                              1)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ครอบคลุมพื้นที่ 174,720 ไรํ หรือร๎อยละ
                  10.59 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ข๎อจ้ากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย ความชุํมชื้นที่เป็น

                  ประโยชน์ตํอพืช (m) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                              2)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) ครอบคลุมพื้นที่ 85,500 ไรํ หรือร๎อยละ 5.18

                  ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ข๎อจ้ากัดบางหนํวยที่ดิน คือ สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                            4.4.6 ยางพารา ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ เป็นที่ต๎องการของตลาด หลังจากลงทุนปลูก

                  แล๎วสามารถเก็บเกี่ยวได๎เป็นระยะเวลานาน มีชั้นความเหมาะสมของที่ดินดังนี้ (ภาพที่ 24  )

                              1)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ครอบคลุมพื้นที่ 135,725 ไรํ หรือร๎อยละ 8.22 ของ                                              122

                  พื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง โดยไมํมีข๎อจ้ากัดในการเพาะปลูก
                              2)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ครอบคลุมพื้นที่ 411,186 ไรํ หรือร๎อยละ

                  24.92 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ข๎อจ้ากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย ความเสียหายจากการ

                  กัดกรํอน (e) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (m) ความจุในการดูดยึด
                  ธาตุอาหาร (n) และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)

                              3)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) ครอบคลุมพื้นที่ 796,575 ไรํ หรือร๎อยละ

                  48.28 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ข๎อจ้ากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย ความเสียหายจากการ
                  กัดกรํอน (e) และสภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146