Page 123 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 123

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           105





                               -พื้นที่อื่นๆ เชํน ทุํงหญ๎า รวมเนื้อที่ 19 ไรํ หรือร๎อยละ 1.13 ของเนื้อที่พื้นที่ชั้น

                  คุณภาพลุํมน้้า

                              (2)  พื้นที่ลุํมน้้าชั้น 1B
                                -พื้นที่ ป่าไม๎ เนื้อที่ 502 ไรํ หรือร๎อยละ 100.00 ของเนื้อที่พื้นที่ชั้นคุณภาพลุํมน้้า

                  เนื้อที่ทั้งหมดเป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์

                               (3) พื้นที่ลุํมน้้าชั้น 2

                                -พื้นที่เกษตรกรรม เนื้อที่ 247 ไรํ หรือร๎อยละ 6.72 ของเนื้อที่พื้นที่ชั้นคุณภาพลุํม
                  น้้าพบพื้นที่เกษตรกรรมดังกลําว ซึ่งสํวนใหญํปลูกมันส้าปะหลังในเขตอ้าเภอคลองหาด จังหวัด

                  สระแก๎ว

                                -พื้นที่ป่าไม๎ เนื้อที่ 3,266ไรํ หรือร๎อยละ 88.92 ของเนื้อที่พื้นที่ชั้นคุณภาพลุํมน้้า                                         105

                  จ้าแนกเป็นป่าดิบสมบูรณ์ เนื้อที่ 320 ไรํ ป่าผลัดใบสมบูรณ์เนื้อที่ 2,702 ไรํ ป่าดิบรอสภาพฟื้นฟูเนื้อที่
                  38 ไรํ และป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟูเนื้อที่ 206 ไรํ

                              -พื้นที่อื่นๆ เชํน พื้นที่ชุมชนรวมเนื้อที่ 160 ไรํ หรือร๎อยละ 4.36 ของเนื้อที่พื้นที่

                  ชั้นคุณภาพลุํมน้้า

                  4.2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

                        จากการเปรียบเทียบสภาพการใช๎ที่ดินของจังหวัดสระแก๎ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และจันทบุรี

                  ปี 2553 และ 2556 ในลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ของสํวนวิเคราะห์สภาพการใช๎ที่ดิน กองนโยบาย

                  และแผนการใช๎ที่ดิน เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินในชํวงระยะเวลา 4 ปีและหาปัจจัยที่ท้าให๎
                  เกิดการเปลี่ยนแปลงด๎านตํางๆโดยใช๎ข๎อมูลแผนที่สภาพการใช๎ที่ดินเชิงเลข พ.ศ.  2553 ซ๎อนทับชั้นข๎อมูล

                  ( intersect)  กับข๎อมูลแผนที่สภาพการใช๎ที่ดินเชิงเลข พ.ศ.  2556 พบวํามีการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินมีราย

                  ระเอียดดังนี้ (ตารางที่ 21)
                      4.2.1 นาข๎าว มีพื้นที่ทั้งหมด 189,266 ไรํ โดยนาข๎าวยังคงเป็นพื้นที่เดิม 181,766 ไรํ มีพื้นที่นา

                  ข๎าวเพิ่มขึ้นเนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนพืชปลูกตามความต๎องการของตลาด การเข๎าไปท้านาข๎าวใน

                  เขตพื้นที่ป่าไม๎ และหันกลับมาเพาะปลูกข๎าวในพื้นที่นาร๎าง โดยเพิ่มขึ้นจากพื้นที่มันส้าปะหลัง 2,190
                  ไรํ ข๎าวโพด 1,773 ไรํ ไม๎ยืนต๎นอื่นๆ 1,550 ไรํ อ๎อย 703 ไรํ ทุํงหญ๎าโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 363 ไรํ พืชไรํ

                  อื่นๆ 294 ไรํ เบ็ดเตล็ด 227 ไรํ ไม๎ผลอื่นๆ 188 ไรํ ยางพารา 94 ไรํ พื้นที่น้้า 36 ไรํ ป่าไม๎ 32 ไรํ นาร๎าง

                  22 ไรํ ชุมชน 19 ไรํ และพืชผัก 10 ไรํ ตามล้าดับ และมีพื้นที่นาข๎าวลดลงเนื่องจากเกษตรกรน้าไปใช๎

                  ประโยชน์ในการปลูกพืชชนิดอื่นหรือท้ากิจกรรมอื่นๆ ได๎แกํ ไม๎ยืนต๎นอื่นๆ 6,025 ไรํ อ๎อย 3,887 ไรํ
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128