Page 158 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         106



                                            ภาคผนวกที่ 2  คุณสมบัติของกลุ่มชุดดินที่ 22

                  ชุดดิน : น้้ากระจาย (Ni) สันทราย (Sai) และสีทน (St)

                  สภาพพื้นที่ : ค่อนข้างราบเรียบ  ความลาดชัน : <2%
                  เนื้อดิน - ดินบน : ดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน
                         - ดินล่าง : ดินร่วน ดินร่วนปนทรายแป้ง หรือดินร่วน
                  ปนทรายสลับกันไปไม่แน่นอน

                  ความลึก : ดินลึกมาก
                  การระบายน้้า : ค่อนข้างเลว
                  การซาบซึมน้้า : ปานกลาง

                  การไหลบ่าของน้้าบนผิวดิน : ช้า                           หน้าตัดดิน         บริเวณที่พบ

                  สมบัติทางเคมีที่ส้าคัญ
                                                                                       -1
                                                                    -1
                  บริเวณที่พบ        อินทรียวัตถุ* (%)   avail P (mg kg )  avail K (mg kg )  pH
                  ดินบน              0.4               2.2                25                5.0-6.0

                  ดินล่าง            0.3               2.1                24.1              6.0-7.0
                  หมายเหตุ : *  เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ x 0.05


                  ตัวเลขสีแดง  หมายถึง   ค่าต่้ากว่าค่ามาตรฐานของสมบัติทางเคมีดิน และค่า  pH ต่้ากว่า  5.5 และ สูงกว่า  8.0
                  ตัวเลขสีเขียว หมายถึง ค่าสูงกว่าค่ามาตรฐานของสมบัติทางเคมีดิน และค่า pH อยู่ในช่วง 5.5-8.0


                  พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ : ใช้ปลูกข้าวภายหลังเก็บเกี่ยวแล้วใช้ปลูกพืชไร่ และพืชผักต่างๆ
                  ข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์ : มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความสามารถในการอุ้มน้้าต่้า และดินมีความอุดม
                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
                         จากการพิจารณาค่าวิเคราะห์ดินด้านบน เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการแปลความหมายค่าวิเคราะห์

                  ดินพบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ในเกณฑ์เป็นกรดปานกลางควรปรับปรุงด้วยโดโลไมท์หรือปูนมาร์ลอัตรา
                  141.68  กิโลกรัมต่อไร่  ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ต่้ามาก ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับ
                  ต่้ามากปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่้ามาก
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163