Page 6 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 6
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
(ง)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1.1 เนื้อที่กลุ่มชุดดินประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 7/8
1.2 เนื้อที่กลุ่มเนื้อดินประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 9
1.3 การกระจายของข้อมูลระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินชั้นบนในประเทศไทย 13
1.4 การกระจายของข้อมูลระดับปริมาณอินทรียวัตถุที่อยู่ในระดับต่างๆ แต่ละภาคของประเทศไทย 15
1.5 การกระจายของข้อมูลปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่อยู่ในระดับต่างๆ แต่ละภาคของ 17
ประเทศไทย
1.6 การกระจายของข้อมูลปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่อยู่ในระดับต่างๆ แต่ละภาคของ 19
ประเทศไทย
2.1 ชนิดและปริมาณของสารประกอบอินทรีย์ที่พบในพืช 30
2.2 ค่า C/N ratio ของสารอินทรีย์ต่างๆ โดยประมาณ 32
2.3 ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในอินทรียวัตถุระดับต่างๆ 35
2.4 ปริมาณพื้นที่ผิวหน้าของอินทรียวัตถุ เมื่อเปรียบกับดินชนิดต่างๆ 37
2.5 ระดับอินทรียวัตถุที่ใช้เป็นมาตรฐานและปริมาณอินทรียวัตถุแต่ระดับในดินบน (0 – 15 ซม.) 40
ซึ่งมีความหนาแน่นรวม 1.3 กรัม/ลบ.ซม.
2.6 ปริมาณอินทรียวัตถุทีมีในดินบน เมื่อดินมีอินทรียวัตถุแตกต่างกัน 41
4.1 ชนิดและปริมาณมูลสัตว์ในภาคต่างๆ ปี 2547 52
4.2 ปริมาณของธาตุอาหารในมูลสัตว์ 4 ชนิด 53
4.3 ปริมาณธาตุอาหารมูลค้างคาว 54
4.4 ปริมาณมูลโคที่ขับถ่ายแต่ละวันและปริมาณธาตุหลักในมูลโค 54
4.5 ความเข้มข้นของธาตุอาหารในมูลไก่ที่ถ่ายใหม่ๆ มูลไก่ขังกรงและมูลไก่ในวัสดุรองพื้นคอก 55
4.6 องค์ประกอบทางเคมีบางประการของปุ๋ยคอกจากฟาร์มโคนม 9 แห่ง 57
4.7 ผลของการใช้ปุ๋ยคอกต่อผลผลิตข้าว 59
4.8 อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยคอกระยะยาวต่อสมบัติทางกายภาพของดินในประเทศอินเดีย 65
4.9 แสดงถึงอิทธิพลของปุ๋ยคอกต่อสมบัติทางกายภาพของดิน 66
4.10 ผลของการใช้ปุ๋ยคอกอัตรา 1,600 กก./ไร่/ปี เป็นเวลา 5 ปี ต่อสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน 66
4.11 ผลการใช้ปุ๋ยคอกต่อกิจกรรมของเอนไซม์และชีวมวลของจุลินทรีย์ดิน 67
4.12 การตอบสนองของพืช 4 ชนิด ต่อการใช้กรดฮิวมิก 68
5.1 ปริมาณวัสดุอินทรีย์จากพืชในภาคต่างๆ ของประเทศไทย ปี 2547 72
5.2 ปริมาณวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมในภาคต่างๆ ของประเทศไทย 73
5.3 ผลการวิเคราะห์ทางเคมีของเศษวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายบางชนิด 76