Page 175 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 175

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        164


                         5) การใช้ปุ๋ยกับพืชผักต่างๆ

                             5.1)  ผักรับประทานต้นและใบ เช่น คะน้า กะหล่ํา ผักกาด และบรอกโคลี  เป็นต้น ต้องการ
                  ธาตุอาหารหลัก ดังตารางที่ 9.22

                  ตารางที่ 9.22 การใช้ปุ๋ยกับผักรับประทานต้นและใบตามค่าวิเคราะห์ดิน

                        รายการวิเคราะห์        อัตราปุ๋ยที่ใส่                      วิธีการใส่ปุ๋ย


                  1) อินทรียวัตถุ (OM, %)                             1. ปลูกโดยใช้เมล็ดหว่าน
                             < 1.5             ปุ๋ยN  20  กก./ไร่     ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยN ครึ่งหนึ่งของอัตราแนะน่า
                            1.5 – 2.5          ปุ๋ยN  15  กก./ไร่     ร่วมกับปุ๋ยP และ K หลังจากแตกใบจริง

                             > 2.5             ปุ๋ยN  10  กก./ไร่     3 – 4 ใบ  ครั้งที่สอง ใส่ปุ๋ยN ที่เหลือจากใส่
                  2) ฟอสฟอรัส (P, มก./กก)                             ครั้งแรก ประมาณ 15 วัน
                             < 10              ปุ๋ยP O   10  กก./ไร่   2. ปลูกด้วยต้นกล้า
                                                   2 5
                            10 – 20            ปุ๋ยP O     5  กก./ไร่   ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยN ครึ่งหนึ่งของอัตราแนะน่า
                                                   2 5
                             > 20              ปุ๋ยP O     5  กก./ไร่   ร่วมกับปุ๋ยP และ K หลังย้ายกล้าปลูกแล้ว
                                                   2 5
                  3) โพแทสเซียม (K, มก./กก)                           7 วัน หรือกล้าตั้งตัวดีแล้ว  ครั้งที่สอง ใส่ปุ๋ยN
                             < 60              ปุ๋ยK O  15  กก./ไร่   ที่เหลือหลังจากย้ายกล้าปลูก 30 วัน
                                                   2
                           60 – 100            ปุ๋ยK O  10  กก./ไร่   ใส่ปุ๋ยโดยโรยสองข้างแถวปลูกและพรวนดิน
                                                   2
                             > 100             ปุ๋ยK O    5   กก./ไร่   กลบและให้น้่า
                                                   2

                  ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2552ข)

                             5.2) พริก มะเขือ มะเขือเทศ กระเจี๊ยบเขียว ต้องการธาตุอาหารหลัก ดังตารางที่ 9.23

                  ตารางที่ 9.23 การใช้ปุ๋ยกับพริก มะเขือ มะเขือเทศ กระเจี๊ยบเขียว ตามค่าวิเคราะห์ดิน

                        รายการวิเคราะห์        อัตราปุ๋ยที่ใส่                      วิธีการใส่ปุ๋ย


                  1) อินทรียวัตถุ (OM, %)                             ครั้งแรก ใส่ปุ๋ย ½ N+P+K หลังจากย้ายกล้า
                             < 1.5             ปุ๋ยN  24  กก./ไร่     ปลูกแล้ว 7 วัน หรือกล้าตั้งตัวดีแล้ว
                            1.5 – 2.5          ปุ๋ยN  18  กก./ไร่     ครั้งที่สอง ใส่ปุ๋ย ½ N ที่เหลือหลังจากย้าย
                             > 2.5             ปุ๋ยN  12  กก./ไร่     กล้าปลูก 30 วัน ใส่สองข้างแถวปลูก แล้ว
                  2) ฟอสฟอรัส (P, มก./กก)                             พรวนดินกลบพร้อมกับให้น้่าทันที

                             < 10              ปุ๋ยP O   16  กก./ไร่
                                                   2 5
                            10 – 20            ปุ๋ยP O     8  กก./ไร่
                                                   2 5
                             > 20              ปุ๋ยP O     4  กก./ไร่
                                                   2 5
                  3) โพแทสเซียม (K, มก./กก)
                             < 60              ปุ๋ยK O  16  กก./ไร่
                                                   2
                           60 – 100            ปุ๋ยK O  12  กก./ไร่
                                                   2
                             > 100             ปุ๋ยK O    6   กก./ไร่
                                                   2

                  ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2552ข)
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180