Page 40 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        22



                          2.8.3  ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางแก๎ไข
                          จากการศึกษาและวิเคราะห์ข๎อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่ลุํมน้้าน้้าเข็ก สามารถสรุปปัญหา

                  ทรัพยากรดินในพื้นที่พร๎อมทั้งแนวทางการแก๎ไขปัญหาไว๎ดังนี้ (ตารางที่ 2-7 และภาพที่ 2-12)
                              2.8.3.1 ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า  มีเนื้อที่รวม 5,940 ไรํ หรือร๎อยละ 2.20 ของพื้นที่
                  ทั้งหมด เนื่องจากวัตถุต๎นก้าเนิดดินมีแรํธาตุอาหารตามธรรมชาติน๎อย ประกอบกับเกษตรกรมีการใช๎
                  ประโยชน์ที่ดินอยํางตํอเนื่องติดตํอกันเป็นเวลานาน โดยไมํได๎มีการปรับปรุงบ้ารุงดินเทําที่ควร ท้าให๎ดิน

                  เสื่อมโทรมเป็นผลให๎พืชเจริญเติบโตช๎า ผลผลิตตกต่้า มีเนื้อที่ 5,940  ไรํ หรือร๎อยละ 2.20  ของพื้นที่
                  ทั้งหมด ได๎แกํ บริเวณที่พบกลุํมชุดดินที่ 15 และกลุํมชุดดินที่ 18
                                    แนวทางการแก๎ไข
                                    เพิ่มอินทรียวัตถุให๎แกํดินโดยการใช๎ปุ๋ยอินทรีย์ เชํนปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก ปลูกพืชปุ๋ย

                  สดแล๎วไถกลบลงดิน และควรเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให๎แกํดินโดยการใช๎ปุ๋ยเคมีรํวมกับน้้าหมักชีวภาพ
                              2.8.3.2 ปัญหาดินมีการชะล๎างพังทลายและสูญเสียหน๎าดิน มีเนื้อที่รวม 10,496  ไรํ หรือ  ร๎อย
                  ละ 3.88 ของพื้นที่ทั้งหมด เนื่องจากเกษตรกรมีการใช๎ประโยชน์ที่ดินอยํางตํอเนื่องติดตํอกันและไมํมี
                  มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า ท้าให๎ดินเสื่อมโทรมเป็นผลให๎พืชเจริญเติบโตช๎า ผลผลิตต้าต่้า มีเนื้อที่ 10,496 ไรํ

                  หรือร๎อยละ 3.88 ของพื้นที่ทั้งหมด ได๎แกํ บริเวณที่พบกลุํมชุดดินที่  31B 31C 55C 55D และ 55E
                                    แนวทางการแก๎ไข
                                    ก้าหนดให๎มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อป้องกันปัญหาการชะล๎างพังทลายที่ท้าให๎

                  เกิดการสูญเสียหน๎าดินและแรํธาตุอาหารพืช โดยในพื้นที่ที่มีความลาดชันตั้งแตํ 2  ถึง 5  เปอร์เซ็นต์ มาตรการ
                  อนุรักษ์ดินและน้้าควรใช๎วิธีพืช เชํน การปลูกพืชตามแนวระดับ หรือปลูกหญ๎าแฝกเป็นแถวตามแนวระดับ
                  ขวางความลาดเทของพื้นที่ การปลูกพืชสลับตามแนวระดับ การปลูกพืชคลุมดินหรือปลูกพืชไรํเศรษฐกิจ
                  แซมระหวํางแถวของไม๎ผลหรือไม๎ยืนต๎น นอกจากจะชํวยป้องกันการชะล๎างแล๎วยังชํวยรักษาความชื้นไว๎ใน
                  ดินได๎อีกด๎วย วิธีการเขตกรรม เชํน การไถพรวนขวางความลาดเท เป็นต๎น สํวนพื้นที่ที่มีความลาดชัน

                  มากกวํา 5  เปอร์เซ็นต์ ควรใช๎มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าในรูปแบบวิธีกลรํวมกับวิธีพืช เชํน การท้าแนว
                  คันดินรํวมกับการปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ หรือปลูกหญ๎าแฝกตามแนวคันดินเพื่อ
                  ชลอการไหลบําของน้้า การท้าคันดินเบนน้้าในบริเวณที่มีการไหลบําของน้้าจากที่สูง การท้าคูรับน้้าขอบเขา

                  สลับกับแนวแถบหญ๎าแฝก เป็นต๎น
                             2.8.3.3 ปัญหาพื้นที่มีความลาดชันสูง มีเนื้อที่รวม 238,920 ไรํ หรือร๎อยละ 88.25 ของพื้นที่
                  ทั้งหมด ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 62 พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและการใช๎ประโยชน์ที่ดินเป็นป่าไม๎ไมํเหมาะที่จะ
                  น้ามาใช๎ประโยชน์ด๎านการเกษตร

                                    แนวทางการแก๎ไข
                                    ก้าหนดให๎พื้นที่นี้เป็นเขตอนุรักษ์ ควรสงวนและรักษาไว๎ให๎คงสภาพเป็น ป่าตาม
                  ธรรมชาติ เป็นแหลํงต๎นน้้าล้าธาร บริเวณป่าเสื่อมโทรมควรปลูกป่าทดแทน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45