Page 23 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
2.4 สภาพภูมิอากาศ
ฤดูกาลของจังหวัดเพชรบูรณ์ แบํงออกได๎ดังนี้
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตํกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศจะหนาวเย็นและแห๎ง เดือนมกราคมเป็นเดือนที่มีอากาศหนาวที่สุดของปี
ฤดูร๎อน เริ่มตั้งแตํกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะมีอากาศร๎อนอบอ๎าวมาก
โดยเฉพาะเดือนเมษายนอากาศร๎อนจัดที่สุดในรอบปี
ฤดูฝน เริ่มตั้งแตํกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จะเป็นฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎พัด
เข๎าสูํประเทศไทย อากาศจะชุํมชื้น และมีฝนตกชุก โดยเฉพาะเดือนสิงหาคมและกันยายน ซึ่งเป็นเดือนที่มี
ฝนตกมากที่สุดในรอบปี
โดยภาพรวมของลักษณะภูมิอากาศ สรุปได๎วํา ในชํวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม มีสภาพอากาศ
ร๎อนชื้น ชํวงฤดูฝนจะได๎รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎ พัดพาเอาความชื้นจากทะเลอันดามันและ
มหาสมุทรอินเดีย ตํอจากนั้นอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีนและไซบีเรียพัดผําน
ท้าให๎ในชํวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศเย็นและแห๎งแล๎ง
จากการรวบรวมข๎อมูลภูมิอากาศจากสถานีตรวจวัดจังหวัดเพชรบูรณ์ กรมอุตุนิยมวิทยาเฉลี่ย 10 ปี
(พ.ศ.2547-2556) สรุปได๎ดังนี้ (ตารางที่ 2-2 )
2.4.1 ปริมาณน้้าฝน ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรวมทั้งปี 1,233.2 มิลลิเมตร เดือนกันยายนมีฝนตกเฉลี่ย
สูงสุดประมาณ 257.2 มิลลิเมตร ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยต่้าสุดเดือนธันวาคมประมาณ 7.3 มิลลิเมตร
2.4.2 จ้านวนวันที่ฝนตก มีวันฝนตกเฉลี่ยรวมทั้งปี 124 วัน ฝนตกมากที่สุดในเดือนสิงหาคม 21 วัน
และน๎อยที่สุดในเดือนธันวาคม 1 วัน
2.4.3 อุณหภูมิ อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือนเมษายน 32.2
องศาเซลเซียส และเฉลี่ยต่้าสุดในเดือนธันวาคม 24.3 องศาเซลเซียส
2.4.4 คําความชื้น มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยรวมทั้งปี 74.3 เปอร์เซ็นต์ ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดในเดือน
กันยายน 84.4 เปอร์เซ็นต์ และต่้าสุดในเดือนมีนาคม 63.2 เปอร์เซ็นต์
2.4.5 คําศักย์การคายระเหยน้้า คําศักย์การคายระเหยน้้าเฉลี่ยรวมทั้งปี 1,400 มิลลิเมตร เดือน
เมษายน มีคําศักย์การคายระเหยสูงสุดประมาณ 155.1 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคม มีคําศักย์การคาย
ระเหยต่้าสุดประมาณ 94.2 มิลลิเมตร
2.4.6 สมดุลน้้าเพื่อการเกษตร
การวิเคราะห์ชํวงฤดูกาลเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม ได๎จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวําง
ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรายเดือน คําศักย์การคายระเหยของน้้า (ET0) และครึ่งหนึ่งของคําศักย์การคายระเหยน้้า
(0.5ET0) โดยคําศักย์การคายระเหยของน้้า (ET0) ค้านวณจากโปรแกรม CropWat สูตร Penman-
Monteith ซึ่งเป็นสูตรที่ได๎รวมเอาอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่้าสุด ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลมและความ
ยาวนานแสงแดด ได๎ผลการวิเคราะห์ตามภาพที่ 2-3 สรุปได๎ดังนี้
2.4.6.1 ชํวงระยะเวลาที่เหมาะสมตํอการปลูกพืช เป็นชํวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตํอการ
เพาะปลูกอยูํในชํวงต๎นเดือนเมษายนถึงปลายเดือนตุลาคม
2.4.6.2 ชํวงระยะเวลาที่มีน้้ามากเกินพออยูํในชํวงต๎นเดือนพฤษภาคมถึงต๎นเดือนตุลาคม
2.4.6.3 ชํวงระยะเวลาที่ขาดน้้าอยูํในชํวงปลายเดือนตุลาคมถึงต๎นเดือนเมษายน เป็นชํวงที่ไมํ
เหมาะสมตํอการปลูกพืชโดยอาศัยน้้าฝน เนื่องจากดินมีความชื้นไมํเพียงพอตํอการเจริญเติบโตของพืช