Page 132 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 132

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        97



                  4.2 การประเมินน้ าตามลุ่มน้ าย่อย
                            4.2.1 การประเมินปริมาณน้ าที่ไหลบําและอัตราการไหลบําของน้ า
                            - การประเมินปริมาณน้ าไหลบํา (Q) ของแตํละลุํมน้ ายํอยที่ด าเนินการ ประเมินได๎จากสูตร

                                              Q = CIA
                                              C = สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบํา
                                               I  =ปริมาณของน้ าฝน (มิลลิเมตรตํอปี)
                                               A = พื้นที่ของบริเวณรับน้ า (เฮกแตร์)
                            - สํวนการประเมินอัตราของน้ าไหลบํา ของแตํละลุํมน้ ายํอยที่ด าเนินการ ประเมินได๎จากสูตร

                                               q   =      CiA
                                                        360
                                               C = สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบํา

                                               i  =ความรุนแรงของน้ าฝน (มิลลิเมตรตํอชั่วโมง)
                                               A = พื้นที่ของบริเวณรับน้ า (เฮกแตร์)
                            4.2.2 การประเมินจากแผนที่มาตราสํวน 1:4,000
                            การประเมินการวัดปริมาณน้ าไหลบํา ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าเข็ก ลุํมน้ าสาขาแมํน้ าวังทอง

                  ลุํมน้ าหลักแมํน้ านําน ต าบลเข็กน๎อย ต าบลเขาค๎อ ต าบลแคมป์สน ต าบลทุํงสมอ ต าบลริมสีมํวง อ าเภอเขาค๎อ
                  จังหวัดเพชรบูรณ์ และต าบลห๎วยเฮี้ย อ าเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกจากแผนที่มาตราสํวน 1:4,000 ที่
                  ประกอบด๎วยเส๎นทางการไหลของน้ า ระดับความลาดชันของพื้นที่ด าเนินการ กลุํมชุดดิน และสภาพการใช๎
                  ประโยชน์ที่ดิน

                            ผลการประเมินจากสภาพการไหลของน้ า สามารถจ าแนกพื้นที่ของเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าเข็ก
                  ออกเป็น 11  พื้นที่รับน้ าเพื่อให๎การประเมินน้ าไหลบํามีความถูกต๎องมากขึ้นและสามารถก าหนดมาตรการ
                  รองรับได๎อยํางมีประสิทธิภาพ ดังนี้(รายละเอียดแสดงตารางที่ 4-14 ภาพที่ 4-13 และภาพที่ 4-14)
                            1. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 1  พื้นที่ 489 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 94,565.47 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ

                  น้ าไหลบํา 14.91 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที
                            2. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 2  พื้นที่ 759 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 103,173.73 ลูกบาศก์เมตรอัตรา
                  ของน้ าไหลบํา 13.86 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที

                            3. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 3  พื้นที่ 477 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 70,123.92 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ
                  น้ าไหลบํา 9.42 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที
                            4. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 4  พื้นที่ 152 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 19,872.38 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ
                  น้ าไหลบํา 2.67 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที
                            5. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 5  พื้นที่ 164 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 19,163.04 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ

                  น้ าไหลบํา 2.57 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที
                            6. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 6  พื้นที่ 340 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 41,710.14 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ
                  น้ าไหลบํา 5.60 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที

                            7. พื้นที่รับน้ าห๎วยใหญํ 7  พื้นที่ 701 ไรํ มีปริมาณน้ าไหลบํา 115,731.17 ลูกบาศก์เมตรอัตราของ
                  น้ าไหลบํา 15.55 ลูกบาศก์เมตรตํอวินาที
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137