Page 122 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 122

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        89






                               4.1.2  ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ
                              4.1.2.1. หลักเกณฑ์การจ าแนกความเหมาะสมของดิน
                                    1)    ศึกษาลักษณะและสมบัติตําง ๆ ของดิน ตลอดจนสภาพแวดล๎อมที่ได๎จากข๎อมูลการ

                       ส ารวจและจ าแนกดินอยํางละเอียด แล๎วน ามาจัดเป็นหมวดหมูํหรือเป็นชั้นตามความรุนแรงของ
                       ลักษณะดินและสภาพแวดล๎อมที่มีผลตํอการเพาะปลูกพืช หรือตามความเสี่ยงตํอความเสียหายเมื่อน า
                       ดินนั้นมาปลูกพืช ชั้นความเหมาะสมของดินแตํละชั้นจะประกอบด๎วยชุดดินหลายชุด แตํทั้งนี้มิได๎
                       หมายความวําชั้นความเหมาะสมของดินแตํละชั้นนั้นต๎องการการจัดการหรือการดูแลรักษาที่เหมือนกัน

                       เสมอไป ชั้นความเหมาะสมของดินแตํละชั้นจะมีข๎อจ ากัดปลีกยํอยลงไปอีก เรียกวํา ชั้นความ
                       เหมาะสมของดินยํอย (Subclass)
                                      2)   ชั้นความเหมาะสมของดินแตํละชั้นยกเว๎นชั้นความเหมาะสมที่ 1  จะระบุ
                       ลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลตํอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตํอผลผลิตของพืชที่ปลูก

                       ลักษณะของดินที่ระบุไว๎ในชั้นความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชแตํละชั้น เรียกวํา ข๎อจ ากัด
                       (limitation)  การจ าแนกความเหมาะสมของดินแตํละชั้นจะต๎องตรวจสอบวําดินแตํละชุดนั้นมี
                       ลักษณะอะไรบ๎างที่รุนแรงที่สุดที่จะเป็นอุปสรรคตํอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตํอผลผลิตของ

                       พืชก็จะตกอยูํในชั้นความเหมาะสมนั้น
                                      3)  เมื่อทราบชั้นความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชแล๎วให๎ท าการ จ าแนกชั้น
                       ความเหมาะสมยํอยลงไป โดยจะระบุชนิดของข๎อจ ากัดที่รุนแรงที่สุดไว๎ตํอท๎ายชั้นความเหมาะสมของดิน
                       หลัก ชนิดของข๎อจ ากัดหรือลักษณะของดินที่เป็นอันตรายหรือท าความเสียหายให๎แกํพืช ได๎แกํ
                                         t : สภาพพื้นที่ (topography)

                                          s : เนื้อดิน (texture) หรือชั้นอนุภาคดิน (particle size class)
                                          b : ชั้นชะล๎างอยํางรุนแรง (albic horizon)
                                          c : ความลึกที่พบชั้นดานแข็ง (depth to consolidated layer)

                                          g : ความลึกที่พบก๎อนกรวด (depth to gravelly layer)
                                          r : หินพื้นโผลํ (rockiness)
                                          z : ก๎อนหินโผลํ (stoniness)
                                          x : ความเค็มของดิน (salinity)

                                          d : การระบายน้ าของดิน (drainage)
                                          f : อันตรายจากการถูกน้ าทํวม (flooding hazard)
                                          w : น้ าแชํขัง (water logging)
                                          m : ความเสี่ยงตํอการขาดแคลนน้ า (risk of moisture shortage)

                                          n : ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (nutrient status)
                                          a : ความเป็นกรดของดิน (acidity)
                                          k : ความเป็นดํางของดิน (alkalinity)
                                          j : ความลึกที่พบชั้นดินกรดก ามะถัน (depth to acid sulfate layer)

                                           e : การกรํอนของดิน (erosion)
                                           o : ความหนาของชั้นวัสดุดินอินทรีย์ (thickness of organic soil material)
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127