Page 89 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 89

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              70





                            (1) เริ่มต้นจากการน า จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค และคะแนนถ่วงน้ าหนัก (IFE Weight
                  และEFE  Weight) มาจัดเรียงลงในตารางข้างล่างนี้ ตามแนวนอน (Row) แล้วน ากลยุทธ์ที่ก าหนดได้จาก
                  TOWS Matrix ทั้ง ๑๒ กลยุทธ์มาจัดเรียงในตารางดังกล่าวตามแนวดิ่ง (Column)

                            (2) ก าหนดค่าคะแนนความดึงดูด (Attractive  Score  :  AS) ของแต่ละกลยุทธ์ โดยผ่านการ
                  พิจารณาร่วมกันของผู้วิจัยและคณะท างานแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ทั้งนี้จะเทียบกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
                  และ อุปสรรค ในแต่ละแถวของตาราง โดยคะแนนความดึงดูด (AS) ๑ - ๔ มีความหมายดังนี้
                             AS : ๔ = สามารถแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ด้านการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมได้ มากที่สุด
                             AS : ๓ = สามารถแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ด้านการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมได้ มาก

                             AS : ๒ = สามารถแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ด้านการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมได้ น้อย
                             AS : ๑ = สามารถแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ด้านการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมได้ น้อยมาก
                            (3) น าค่าคะแนนถ่วงน้ าหนัก (IFE  Weight  และEFE  Weight) ของแต่ละรายการคูณกับค่า AS

                  ของแต่ละกลยุทธ์ เมื่อเทียบกับรายการนั้น ๆ ก็จะได้ค่าความสัมพันธ์กับสภาพปัจจัยโดยรวม หรือผลรวมของ
                  คะแนนความดึงดูด (Total Attractive Score : TAS)
                            (4) หาค่าผลรวมของ TAS ของแต่ละกลยุทธ์ที่เป็นทางเลือก (เช่น SO๑ มีค่า TAS เท่ากับ ๖.๖๒๘
                  ดังตาราง ๕ - ๙) แล้วน าไปเรียงล าดับคะแนน TAS จากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังตาราง ๕ - ๑๐ อย่างไรก็ตามเมื่อ

                  จะคัดเลือกกลยุทธ์ จะท าการคัดเลือกเฉพาะกลยุทธ์ทางเลือกที่มีค่าผลรวม TAS มากที่สุดในแต่ละกลุ่ม เช่น กลุ่ม
                  SO มี SO๑ ที่มี TAS สูงสุด หรือ กลุ่ม ST มี ST๑ และST๓ ที่มีค่า TAS สูงสุด ดังตารางต่อไปนี้

                  ตาราง ๕ - ๙ การคัดเลือกกลยุทธ์ด้วยวิธีตารางวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ (QSPM)

                                                                     SO๑            SO๒            SO๓
                                                                  บริหารจัดการ       เพิ่ม      ส่งเสริมการค้า
                                                                 พื้นที่นาร้างเพื่อ  ประสิทธิภาพ ชายแดนการพัฒนา
                    การประเมินกลยุทธ์โดยมีกรอบการวิเคราะห์ด้วย QSPM  พัฒนาพื้นที่ท ากิน  การบริหาร  เศรษฐกิจพิเศษ และ
                           เพื่อคัดเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมที่สุด   ทางการเกษตร      จัดการโซ่  สร้างความร่วมมือ
                                                                   อย่างยั่งยืน   อุปทานสินค้า  ระหว่างประเทศ
                                                                                    เกษตร     เชื่อมโยงเศรษฐกิจ
                                                                                                ระดับภูมิภาค
                                ปัจจัยส าคัญ            Weight  AS      TAS      AS    TAS      AS     TAS
                   S๑ พื้นที่เหมาะสมมีศักยภาพในการพัฒนา
                      ปาล์มน้ ามันและแหล่งพลังงานทดแทนไบโอ  ๐.๑๙๔   ๔   ๐.๗๗๖    ๑    ๐.๑๙๔     ๒     ๐.๓๘๘
                      ดีเซล
                   S๓ ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศมีความ  ๐.๑๒๙   ๔    ๐.๕๑๖     ๑    ๐.๑๒๙     ๑     ๐.๑๒๙
                      เหมาะสมต่อการต่อการผลิตพืชเศรษฐกิจ
                   S๖ มีด่านชายแดน ๙ ด่าน ที่มีศักยภาพในการ  ๐.๐๙๗   ๒   ๐.๑๙๔   ๔    ๐.๓๘๘     ๔     ๐.๓๘๘
                      พัฒนาเป็นจุดเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ IMT- GT
                   S๗ มีอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่รองรับวัตถุดิบทาง  ๐.๐๖๕   ๓   ๐.๑๙๕   ๓   ๐.๑๙๕   ๓    ๐.๑๙๕
                      การเกษตร
                   W๑ ปัญหาการขาดความอุดมสมบูรณ์ของดิน   ๐.๑๖๑    ๔    ๐.๖๔๔     ๑    ๐.๑๖๑     ๑     ๐.๑๖๑
                   W๒ ปัญหานาร้าง                       ๐.๑๖๑     ๔    ๐.๖๔๔     ๑    ๐.๑๖๑     ๑     ๐.๑๖๑
                   W๖ ขาดการบูรณาการระหว่างภาคเกษตรกร     ๐.๑๒๙   ๓    ๐.๓๘๗     ๑    ๐.๑๒๙     ๑     ๐.๑๒๙
                       ส่วนราชการ และอบจ.
                   W๘ ฐานการผลิตแคบและขาดการพัฒนาการ    ๐.๐๖๕     ๔     ๐.๒๖     ๒     ๐.๑๓     ๒      ๐.๑๓
                      แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า




                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94