Page 57 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
  42




 ตาราง ๔ - ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเกษตรที่สอดคล้องกับพันธกิจหลัก

 ของกรมพัฒนาที่ดิน

 ยุทธศาสตร์
 วัตถุประสงค์   เป้าหมาย   ตัวชี้วัด   แนวทางการพัฒนา
 ๓. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตรความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
 ๑. เพื่อให้ภาคเกษตร  ๑. เพิ่มสัดส่วนมูลค่าสินค้าเกษตรและ  ๑. สัดส่วนมูลค่าสินค้า  ๑.  การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและ
 เป็นฐานการผลิตที่  อุตสาหกรรมเกษตรไม่ต่ ากว่าร้อยละ  เกษตรและ  ยั่งยืน
 มีความมั่นคงและมี  ๑๖.๐ของผลิตภัณฑ์มวลรวมใน  อุตสาหกรรมเกษตร  - รักษาคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมสนับสนุนให้เกษตรกรมีที่ดินหรือมีสิทธิท ากิน
 การเติบโตอย่างมี  ประเทศ   ต่อผลิตภัณฑ์มวล  - เร่งรัดปฏิรูปที่ดินการใช้ประโยชน์ที่ดินกระจายการถือครอง
 ประสิทธิภาพ  ๒. ปริมาณการผลิตสินค้าเกษตรและ  รวมในประเทศ   - จัดให้มีองค์กรและระบบบริหารจัดการที่ดิน
 สามารถผลิตสินค้า  อาหารเพียงพอต่อความต้องการของ  ๒. ผลผลิตและต้นทุน  - ฟื้นฟูทรัพยากรดินบริหารจัดการน ้า
 เกษตรอาหารและ  ตลาด พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและ  การผลิตต่อหน่วย  - พัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
 พลังงานที่มี  ความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและ  ของสินค้าเกษตร   ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
 มูลค่าเพิ่มมี  อาหารอย่างต่อเนื่องโดยเพิ่มพื้นที่การ ๓. จ านวนฟาร์มที่ได้  - วิจัยพัฒนาและส่งเสริมบทบาทเกษตรกรในการวิจัยและพัฒนา
 คุณภาพมาตรฐาน  ท าเกษตรกรรมยั่งยืนอย่างน้อยร้อยละ  รับรองมาตรฐานใน  - สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน
 ปลอดภัยเป็นมิตร  ๕.๐ ต่อปีรวมทั้งผู้บริโภคสามารถ  แต่ละปีเพิ่มขึ้นและ  - สนับสนุนการผลิตที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่
 กับสิ่งแวดล้อมและ  เข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ  การเพิ่มขึ้นของ   - ควบคุมดูแลการใช้สารเคมีสนับสนุนสารชีวภาพ
 มีปริมาณเพียงพอ  และปลอดภัยได้อย่างทั่วถึงในราคาที่  ๔. พื้นที่ท าเกษตรกรรม  - ปรับปรุงบริการขั้นพื้นฐานเช่นศูนย์จักรกลศูนย์เรียนรู้
 กับความต้องการ  เหมาะสมและเป็นธรรม   ยั่งยืนอาทิพื้นที่  - ส่งเสริมการผลิตที่คงไว้ซึ่งความหลากหลาย
 ของตลาดในระดับ  ๓. เกษตรกรมีหลักประกันที่มั่นคงด้าน  เกษตรอินทรีย์เป็น  - เสริมสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่ม
 ราคาที่เหมาะสม  อาชีพและรายได้มีความสามารถใน  ต้น   ความสามารถและช่องทางการรับข่าวสารรวมถึงการพัฒนาสื่อทาง
 และเป็นธรรมโดย  การช าระหนี้สินเพิ่มขึ้นรวมทั้ง  ๕. สัดส่วนรายได้เงินสด  การเกษตรในวงกว้าง
 ให้ความส าคัญกับ  เกษตรกรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่าง  สุทธิทางการเกษตร  ๓. การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต
 ความมั่นคงด้าน  ต่อเนื่อง   ต่อรายได้เงินสดสุทธิ  - สนับสนุนชุมชนในการสร้างมูลค่าเพิ่มบนฐานความรู้ที่สร้างสรรค์
 อาหารเป็นล าดับ  ของครัวเรือนเกษตร   - ส่งเสริมสถาบันการศึกษาในพื้นที่เข้าร่วมท าการวิจัยกับภาคเอกชน
 แรก          - สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรผลิตสินค้าตามมาตรฐาน
              - ส่งเสริมเอกชนชุมชนมีบทบาทร่วมบริหารจัดการระบบสินค้าเกษตร




 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62