Page 131 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 131

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
  109




 ตาราง ๖ - 10 (ต่อ)

 ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ : ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์ (ต่อ)
 กลยุทธ์ที่ ๒ ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์ (ต่อ)
                                          เป้าหมาย
 โครงการ   วัตถุประสงค์ของโครงการ   หน่วยนับ
                          ๒๕๕๖     ๒๕๕๗     ๒๕๕๘    ๒๕๕๙      รวม
 ๒.๒ โครงการปรับปรุง   เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรปรับปรุงแก้ไขดินเปรี้ยว ดินกรด ดินเค็ม โดยการ  ไร่   ๖,๐๘๐   ๖,๘๐๐   ๖,๖๐๐   ๖,๗๐๐  ๒๖,๑๘๐
 คุณภาพดิน   ใช้วัสดุปรับปรุงดิน ( ปูนเพื่อการเกษตร ) ร่วมกับการใช้พืชปุ๋ยสด รวมทั้ง
 การปรับโครงสร้างของพื้นที่ให้มีสภาพเหมาะสม สามารถท านา ปลูกไม้ผล
 และไม้ยืนต้น ให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น
 กลยุทธ์ที่ ๓ บูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิดเอกภาพและประโยชน์สูงสุด
 ๓.๑ โครงการระบบ   รณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก เป็นการรณรงค์ให้เกษตรกรได้รับ  ไร่   ๘,๒๐๐   ๗,๙๕๐   ๙,๙๖๖  ๑๑,๑๑๗  ๓๗,๒๓๓
 อนุรักษ์ดินและน้ า  ทราบถึงคุณประโยชน์ของหญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ าสามารถใช้
 พื้นที่ลุ่ม - ดอน      ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการใช้
 ( เขตพัฒนาที่ดิน )  หญ้าแฝก ซึ่งเป็นวิธีง่ายๆ สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเองรวมทั้งเป็นการ
 สร้างความชุ่มชื้นให้กับดินและช่วยในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ท า
 ให้เกษตรกรมีรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และเพื่อให้มีการผลิต
 และการใช้หญ้าแฝกในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์
 ทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกอย่าง
 แพร่หลายและยั่งยืน
 ๓.๒ โครงการการ   เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้ าไว้ใช้ในพื้นที่ท าการเกษตรนอกเขต  บ่อ   ๓๓๙   ๑๒๓   ๑๓๐   ๘๐   ๖๗๒
 ก่อสร้างแหล่งน้ า  ชลประทาน และในพื้นที่ที่ระบบส่งน้ าไปไม่ถึง บรรเทาปัญหาภัยแล้งโดย
 ในไร่นานอกเขต  การขุดสระน้ าในไร่นา
 ชลประทาน     เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ให้แก่เกษตรกร
 ๓.๓ โครงการพัฒนา   งานพัฒนาแหล่งน้ าเป็นส่วนหนึ่งที่ส าคัญของระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ซึ่ง  แห่ง   ๒   ๓   ๐   ๐   ๕
 งานระบบส่งน้ า  จะช่วยอนุรักษ์และเก็บกักน้ า โดยการจัดการให้น้ าฝนที่ตกลงมาถูกกักเก็บ
 ในไร่นา   ไว้ให้ไหลซึมลงใต้ดินเป็นประโยชน์ในรูปของความชื้นแก่พืชพรรณที่ขึ้นอยู่
 ๓.๔ โครงการพัฒนา  ไม่ให้ไหลบ่าไปกัดเซาะดินในพื้นที่ตอนล่างให้เกิดความเสียหาย รวมทั้งกัก  แห่ง   ๓   ๕   ๘   ๑๐   ๒๖
 แหล่งน้ าขนาดเล็ก   เก็บน้ าไว้ใช้เพื่อการเกษตรกรรม


 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136