Page 123 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 123

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             104





                            การคัดเลือกโครงการ ทางผู้วิจัยและคณะท างานฯ ก าหนดว่าจะคัดเลือกโครงการที่มีผลลัพธ์
                  คะแนนรวมตั้งแต่ ๙ คะแนนขึ้นไป (๓ x  ๓ =  ๙) เนื่องจากระดับผลกระทบและความพร้อมของการด าเนิน
                  โครงการของกรมพัฒนาที่ดิน อยู่ในระดับปานกลางขึ้นไปและกรมพัฒนาที่ดินอยู่ในวิสัยที่พอจะด าเนินการ

                  โครงการได้ในอนาคต
                            ผลของการให้คะแนนและการเรียงล าดับ สามารถแสดงในตารางข้างล่าง ต่อไปนี้
                      ตาราง ๖ - ๖ ผลคูณคะแนนผลกระทบกับคะแนนความพร้อมของแต่ละโครงการภายใต้ทั้ง ๕ กลยุทธ์

                                                                   ระดับคะแนน   ระดับคะแนน   ผลคูณคะแนน  ล าดับ
                                                                    ผลกระทบ     ความพร้อม
                            กลยุทธ์/โครงการและกิจกรรมคิดริเริ่มใหม่                         (ผลกระทบ x   ความ
                                                                    (Impact     (Readiness   ความพร้อม)   ส าคัญ
                                                                     Score)       Score)
                   กลยุทธ์ที่ ๑ : กลยุทธ์บริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตรอย่างยั่งยืน
                   P๑. โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกปาล์มน้ ามัน   ๕       ๕           ๒๕        ๑
                   P๒. โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว       ๕           ๔           ๒๐        ๒
                   P๓. โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกยางพารา    ๒           ๔           ๘         ๗
                   P๔. โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูก ไม้ผล เช่นลองกอง   ๓   ๒          ๖         ๘
                   กลยุทธ์ที่ ๒: กลยุทธ์ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์
                   P๕. โครงการปรับปรุงคุณภาพดิน                        ๔           ๔           ๑๖        ๓
                   P๖. การพัฒนาที่ดินในพื้นที่เฉพาะ ( ทะเลสาบสงขลา กุ้งกุลาด า )   ๔   ๓       ๑๒        ๕
                   P๗. โครงการปรับปรุงคุณภาพน้ าเหมาะสมส าหรับการเกษตร   ๒         ๔           ๘         ๗
                   P๘. โครงการพัฒนาปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตร   ๓   ๒       ๖         ๘
                   กลยุทธ์ที่ ๓ : กลยุทธ์บูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิดเอกภาพและประโยชน์สูงสุด
                   P๙. โครงการระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพื้นที่ลุ่ม - ดอน ( เขตพัฒนาที่ดิน )        ๓   ๕   ๑๕   ๔
                   P๑๐. โครงการการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน    ๕      ๓           ๑๕        ๔
                   P๑๑. โครงการพัฒนางานระบบส่งน้ าในไร่นา              ๔           ๓           ๑๒        ๕
                   P๑๒. โครงการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก                  ๓           ๔           ๑๒        ๕
                   กลยุทธ์ที่ ๔ : กลยุทธ์ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับความต้องการของ
                             เกษตรกร
                   P๑๓. โครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง   ๓   ๔        ๑๒        ๕
                   P๑๔. โครงการส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้เคมีทางการเกษตร/  ๓   ๔        ๑๒        ๕
                        เกษตรอินทรีย์
                   P๑๕. โครงการการพัฒนาที่ดินอันเนื่องมาจากพระราชด าริ   ๔         ๔           ๑๖        ๓
                   กลยุทธ์ที่ ๕ : เกษตรกรเข้าถึงการบริการงานพัฒนาที่ดินอย่างทั่วถึง
                   P๑๖. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่                   ๓           ๓           ๙         ๖
                   P๑๗. โครงการการพัฒนาหมอดินอาสาและยุวหมอดิน          ๔           ๓           ๑๒        ๕
                   P๑๘. โครงการถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรผ่านเทคโนโลยี   ๓           ๒           ๖         ๘
                   P๑๙. โครงการการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่         ๓           ๓           ๙         ๖

                            จากตารางข้างต้น สรุปความหมาย คือ P๑ :  โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกปาล์มน้ ามัน
                  (๕ x ๕ = ๒๕) มีความส าคัญในการที่จะด าเนินโครงการสูงที่สุด เพราะมีผลกระทบต่อกรมพัฒนาที่ดินมากที่สุด

                  และกรมพัฒนาที่ดินมีความพร้อมในการด าเนินโครงการมากที่สุด ส่วนอันดับสองคือ P๒ :  โครงการปรับปรุง
                  พื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว (๕ x  ๔ = ๒๐) มีความส าคัญในการที่จะด าเนินโครงการสูงเช่นกันส่วนโครงการ P๓
                  คือโครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกยางพารา (มีคะแนน ๒ x ๒ = ๔) คือมีความส าคัญในการที่จะด าเนิน

                  โครงการต่ าที่สุด เพราะมีผลกระทบต่อกรมที่ดินต่ าที่สุดและกรมพัฒนาที่ดินยังขาดความพร้อมในการด าเนิน
                  โครงการต่ าที่สุดเช่นกันหลังจากนั้นเมื่อน าผลคะแนนมาท าการเรียงล าดับความส าคัญของการด าเนินโครงการ
                  พบว่ามีจ านวน ๑๔ โครงการที่ผลลัพธ์คะแนน (ผลกระทบ x  ความพร้อม) มีค่ามากกว่า ๙ คะแนน ซึ่งผู้วิจัย



                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128