Page 75 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       52







                              7.1.12 ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางแก้ไข
                                     จากการศึกษาและวิเคราะห์ข๎อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ า
                       ห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน สามารถสรุปปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่แยกตามสภาพพื้นที่และคุณสมบัติ
                       ของดิน พร๎อมทั้งแนวทางการแก๎ไขปัญหาไว๎ดังนี้ (ภาพที่ 12)

                                     1) ปัญหาดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เป็นดินที่มีศักยภาพทางการเกษตรต่ า เนื่องจากเป็น
                       ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น อาจพบเศษหิน ก๎อนกรวดและเศษหินอื่นๆ เกิดขึ้นภายในความลึก 50 เซนติเมตร
                       จากผิวดิน และมีปริมาณกรวดหรือเศษหิน ขนาดเส๎นผํานศูนย์กลางใหญํกวํา 2 มิลลิเมตร มากกวํา
                       ร๎อยละ 35 โดยปริมาตร ชั้นนี้จะเป็นอุปสรรคตํอการชอนไชของรากพืชในดินชั้นลํางเพื่อหาแรํธาตุ

                       อาหารและน้ า เพื่อการเจริญเติบโตและสร๎างผลผลิตได๎อยํางปกติ ความลึกของดินจึงเป็นตัวก าหนด
                       ระบบของรากพืชในการชอนไชไปหาอาหารหรือความแข็งแรงของรากในการค้ าจุนล าต๎น ได๎แกํ หนํวย
                       แผนที่ดิน 47C และ 47D มีเนื้อที่ 26,164 ไรํ หรือร๎อยละ 10.96 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                        แนวทางแก๎ไข

                                            การปลูกพืชไรํหรือพืชผัก ควรเลือกพื้นที่ที่มีหน๎าดินหนามากกว่า  25
                       เซนติเมตร จัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียน ปรับปรับปรุงบ ารุงดินด๎วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 3-4
                       ตันตํอไรํ หรือหวํานเมล็ดถั่วพร๎า ปอเทือง แล๎วไถกลบระยะออกดอก ปลํอยไว๎ 1-2 สัปดาห์ กํอนปลูก

                       พืชเพื่อบ ารุงดินและเพิ่มอินทรียวัตถุ โดยใช๎รํวมกับน้ าหมักชีวภาพ และ/หรือปุ๋ยเคมีในอัตราสํวนที่
                       เหมาะสม การปลูกไม๎ผลควรขุดหลุมปลูกถึงชั้นหินพื้นหรือขุดหลุมขนาด 50x50x50  เซนติเมตร
                       ปรับปรุงหลุมปลูกด๎วยหน๎าดินที่ไมํมีเศษหินหรือก๎อนหินรํวมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 25-50 กิโลกรัม
                       ตํอหลุม ควรมีไม๎ค้ ายันและเอาหน๎าดินบริเวณใกล๎เคียงมาผสมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกพูนโคนอยูํเป็น
                       ประจ าเพื่อเสริมสร๎างความแข็งแรง ท าให๎ไมํล๎มงําย พัฒนาแหลํงน้ าและจัดระบบการให๎น้ าในแปลง

                       ปลูก
                                     2) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าที่ดอน เนื่องจากวัตถุต๎นก าเนิดดินมีแรํธาตุ
                       อาหารตามธรรมชาติน๎อย ประกอบกับเกษตรกรมีการใช๎ประโยชน์ที่ดินอยํางตํอเนื่องติดตํอกันเป็น

                       เวลานาน โดยขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน ท าให๎ดินเสื่อมโทรม ธาตุอาหารพืชลดลง ท าให๎พืช
                       เจริญเติบโตช๎า ผลผลิตลดลง ได๎แกํ หนํวยแผนที่ดิน 29B  และ 29C มีเนื้อที่ 13,338 ไรํ หรือร๎อยละ
                       5.58 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                        แนวทางแก๎ไข

                                            การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให๎แกํดินและปรับปรุงบ ารุงดิน เชํน การไถกลบ
                       พืชปุ๋ยสด (หวํานถั่วพร๎าอัตรา 8-10 กิโกรัมตํอไรํ ถั่วพุํมอัตรา 6-8 กิโลกรัมตํอไรํ หรือปอเทือง อัตรา
                       4-6 กิโกรัมตํอไรํ ไถกลบระยะออกดอก ปลํอยไว๎ 1-2 สัปดาห์ กํอนปลูกพืช) หรือรํวมกับปุ๋ยหมัก หรือ
                       ปุ๋ยคอก อัตรา 1-2  ตันตํอไรํ  มีการใช๎ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพรํวมกับปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก

                       และมีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เชํน ปลูกพืชสลับเป็นแถบ ท าแนวคันดิน แนวหญ๎าแฝกหรือแนวคันดิน
                       รํวมกับหญ๎าแฝก เป็นต๎น
                                     3) ปัญหาพื้นที่มีความลาดชันเชิงซ๎อน พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์
                       ซึ่งถือวํายากตํอการจัดการดูแลรักษาเพื่อการเกษตร ประกอบไปด๎วยดินตื้นมากถึงเป็นดินลึก อาจพบ

                       ก๎อนหิน เศษหินหรือหินพื้นโผลํกระจัดกระจายทั่วไปบนผิวดิน ซึ่งจ าเป็นต๎องใช๎มาตรการการอนุรักษ์
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80