Page 60 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       39







                              7.1.8 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดิน
                                   จากการศึกษาข๎อมูลทรัพยากรดิน (ส านักส ารวจและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2552) และ
                       ข๎อมูลธรณีวิทยา (กรมทรัพยากรธรณี, 2549) สามารถแบํงลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุต๎นก าเนิด
                       ดินในพื้นที่ลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน ได๎ดังนี้

                                   1) ที่ราบตะกอนน้ าพา (alluvial plain) ในฤดูน้ าหลากน้ าจะน าตะกอนมาสะสมสอง
                       ฝั่งแมํน้ า วัตถุต๎นก าเนิดของดินบริเวณนี้จะเป็นตะกอนน้ าพา ที่เกิดจากห๎วยน้ าแหง และห๎วยที่ไหลลง
                       สูํห๎วยน้ าแหง รวมถึงตะกอนน้ าพาในหุบเขา
                                   2) พื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผํนดิน (denudation  surface)  เป็นบริเวณที่เกิด

                       ขบวนการตํางๆ ตามธรรมชาติที่ท าให๎เกิดการลดระดับของผิวดิน วัตถุต๎นก าเนิดดินเกิดจากวัตถุ
                       เคลื่อนย๎ายและวัตถุตกค๎างของหินตะกอนพวกหินดินดาน หินโคลน หินทราย และหินอัคนีพวกหิน
                       ไรโอไลต์ และแอนดิไซต์
                                   3) พื้นที่ภูเขา (mountainous area) ได๎แกํ บริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวํา 35

                       เปอร์เซ็นต์ หรือที่ลาดชันเชิงซ๎อน (slope complex) มีลักษณะเป็นภูเขา และเทือกเขา ซึ่งเป็นพื้นที่
                       สํวนใหญํของเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน หินที่พบมีทั้งหินอัคนีพวกหินไรโอไลต์
                       แอนดิไซต์ และหินตะกอน พวกหินดินดาน หินทราย หินกรวดมน

                              7.1.9 ทรัพยากรดิน
                                   การศึกษาและวิเคราะห์ข๎อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่ลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน

                       จากข๎อมูลแผนที่กลุํมชุดดินจังหวัดนําน มาตราสํวน 1:25,000 (ส านักส ารวจและวางแผนการใช๎ที่ดิน,
                       2552) สามารถสรุปทรัพยากรดิน ได๎ดังนี้ (ตารางที่ 11 และภาพที่ 10)
                                   1) กลุํมชุดดินที่ 15

                                         กลุํมชุดดินที่ 15 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินทรายแป้ง ลึกมาก เกิด
                       จากวัตถุต๎นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า พบบริเวณที่ราบลุํมตะกอนน้ าพา สภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                       คํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีน้ าแชํขังในชํวงฤดูฝน การระบายน้ าคํอนข๎างเลว
                       ถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติปานกลาง
                                         ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินรํวนหรือดินรํวนปนทรายแป้ง สีน้ าตาลปนเหลือง สี

                       น้ าตาลปนเทาหรือสีเทา มีจุดประสีน้ าตาลหรือสีเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง
                       (pH  6.0-7.0)  ดินลํางมีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทรายแป้งหรือดินรํวนเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาปน
                       น้ าตาลหรือสีเทา มีจุดประสีน้ าตาล สีเหลือง หรือสีแดงของศิลาแลงอํอนปริมาณมากกวําร๎อยละ 5

                       โดยปริมาตร ภายในความลึก 150 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง
                       (pH 6.0-7.0)
                                         ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : อาจขาดแคลนน้ าในระยะที่ฝนทิ้งชํวงนานในบาง
                       พื้นที่

                                         กลุํมชุดดินที่ 15 พบ 1 หนํวยแผนที่ คือ
                                             หนํวยแผนที่ 15 : กลุํมชุดดินที่ 15 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่
                       14,044 ไรํ หรือร๎อยละ 1.24 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65